สนับสนุนโดย    
สนับสนุนโดย    
   
สนับสนุนโดย    
ถาม-ตอบ

สารปรุงแต่งอาหาร

สารปรุงแต่งอาหารมีกี่ประเภท กี่ชนิด มีอะไรบ้าง ด่วนครับจะทำรายงาน

โดย:  เด็กเรียนเซียนเกมส์   [2 ม.ค. 2549 15:08:00]
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก:  เมนูนานาสาระ และหมวด สารเคมีในอาหาร-สารเจือปน สารปรุงแต่ง สารตกค้าง
ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ
ข้อคิดเห็นที่ 1:1

ลองไปที่
http://techno.msu.ac.th/fn/th/ecenter.htm
มี วีดีโอสารคดี เรื่อง สารปรุงแต่งอาหาร (Food Additives)

ลองดูว่าใช้ได้หรือไม่ครับ


โดย:  ประชุม  [9 ม.ค. 2549 09:49:00]
ข้อคิดเห็นที่ 2:2

สารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน


โดย:   [26 ต.ค. 2549 17:31]
ข้อคิดเห็นที่ 3:3

ไม่เจอเลยค่ะ  จะทำรายงานเหมือนกัน   คัยเจอบอกด้วย

โดย:  คนน่ารัก  [4 พ.ย. 2549 18:18]
ข้อคิดเห็นที่ 4:5

ครูสั่งเหมือนกัน ห้อง 1 2 3

โดย:  ม.2สายวิทคณิต  [6 พ.ย. 2549 22:41]
ข้อคิดเห็นที่ 5:13

ใครเห็น หรือ ทำรายงาน เรื่องนี้ ก็ช่วยๆกัน บอกที เพราะ ผมหาไม่เจอ....ช่วยๆกันหน่อย ง่า  แล้วก็ตอบมาที่นี้นะ

โดย:  ทอมมี่  [9 พ.ย. 2549 20:26]
ข้อคิดเห็นที่ 6:14

...แปป... ...ลืมไป...  ตอบมาเร็วๆง่าเพราะว่าไกล้ จาส่ง อาจารย์ แล้ว....                 วิชา วิทย (เสริม) แล้วถ้าใครเจอ หลัง นานคงจะหาเจอแล้วง่า ... ไม่ก็ ถ่ายเอกสาร กับเพื่อน ง่า 5555+ ไปก่อนละ บาย เด้อ thetommy001 ส.ค. (พิทยา...)

โดย:  ทอมมี่  [9 พ.ย. 2549 20:29]
ข้อคิดเห็นที่ 7:15

ตัวอย่างสารปรุงแต่งอาหารหรือวัตถุเจือปนอาหาร ดูข้อมูลสารได้ที่ลิงค์http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/food/ntf/DirtyFood3Attach.html เป็นรายการวัตถุเจือปนในอาหารที่กระทรวงสาธารณสุขประกาศไว้ ส่วนการจัดกลุ่มสามารถจัดได้ตามหน้าที่ (ในตารางที่ลิงค์มีกลุ่มหน้าที่ไว้ให้แล้ว) ตัวอย่างเช่น กลุ่มที่เป็น กรด กันเสีย กันรา กันหืน ปรับความเป็นกรด  เสริมฤทธิ์วัตถุกันหืน จับอนุมูลโลหะ ช่วยให้คงตัว ทำให้ข้น เป็นต้น

โดย:  วลัยพร  [13 พ.ย. 2549 12:46]
ข้อคิดเห็นที่ 8:16

หาข้อมูลไม่เจอข้อมูลน้อยมากเลยอ่ะ

โดย:  ชินแชยอง  [22 พ.ย. 2549 19:45]
ข้อคิดเห็นที่ 9:17

ผลงานดีมากคะ

โดย:  จากผู้หญิงคนหนึ่ง  [28 พ.ย. 2549 12:56]
ข้อคิดเห็นที่ 10:19

ยกตัวอย่างสารปรุงแต่งอาหาร บอก ประโยชน์ โทษ

โดย:  12323  [3 ธ.ค. 2549 19:36]
ข้อคิดเห็นที่ 11:20

สารที่ใช้กำจัดแมลงในบ้านมีอะไรบ้าง  มีโทษอย่างไร  เเล้วข้อดีมีอะไรบ้าง           <ช่วยตอบเร็วๆด้วยนะค่ะจะรีบทำรายงาน>

โดย:  เด็กเรียน  [13 ธ.ค. 2549 18:17]
ข้อคิดเห็นที่ 12:21

อยากทราบว่าคุนคือใคร ใครคือคุนคะกรุณาตอบกลับด้วยคะ(อย่าให้รู้ว่าเปงใครนะ)


โดย:  เด็กห้องเดียวกะความคิดเห็นที่5  [14 ธ.ค. 2549 18:43]
ข้อคิดเห็นที่ 13:22

อยากทราบอ่า

โดย:  เด็กห้อง2  [17 ธ.ค. 2549 21:26]
ข้อคิดเห็นที่ 14:23

สารเคมีที่ใช้กำจัดแมลงดูที่ http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=4

โดย:  วลัยพร  [18 ธ.ค. 2549 20:33]
ข้อคิดเห็นที่ 15:24

จะทำรายงานอะแต่หาไม่เจอเลยทำไงดีคัยเจอบอกด้วย     นะคะจะส่งอยู่ไม่กี่อาทิตย์แล้วหาไม่ได้เลย     (  ใครเจอบอกด้วยนะไม่รู้จะทำยังไงแล้ว)    (  ใครเจอบอกด้วยนะเข้ากันอยู่ตั้ง  2    อาทิตย์แลัว   ขอร้องอย่าอุบไว้บอกด้วย)

โดย:  คนสวย  [20 ธ.ค. 2549 20:47]
ข้อคิดเห็นที่ 16:25

ขอขอบคุณคุณวลัยพรมากๆ    เพราะได้ข้อมูลจากคุณ

โดย:  คนสวย  [20 ธ.ค. 2549 20:52]
ข้อคิดเห็นที่ 17:26

ทำไมไม่มีสารเครื่องสำอางค์เลยกำลังเรียนอยู่โปรดตอบด้วนนะรออยู่


โดย:  เด็กป.6  [23 ธ.ค. 2549 18:43]
ข้อคิดเห็นที่ 18:27

ไม่รู้ว่าต้องการทราบข้อมูลลักษณะไหนนะค่ะ แต่ลองดูที่ url ที่ให้แล้วกันค่ะ http://www.chemtrack.org/Board-Detail.asp?TID=0&ID=177," target="_blank"> http://www.chemtrack.org/Board-Detail.asp?TID=0&ID=177, http://www.fda.moph.go.th/fda-net/html/product/cosmetic/cosmetic/dat/arti.htm, http://webdb.dmsc.moph.go.th/Cosmetic/Content1.asp

โดย:  วลัยพร  [24 ธ.ค. 2549 20:48]
ข้อคิดเห็นที่ 19:28

ทำไมหาไม่เจอเลยแย่มาก

โดย:  บุ้ง  [10 ม.ค. 2550 22:02]
ข้อคิดเห็นที่ 20:29

หายากมากรู้เปล่ากรุณาตรวจสอบการทำงานให้ดีด้วยเข้าใจ๋  ( โอปี้ป๊ ) รายงาน


โดย:  โอปี้ปิ๊  [13 ม.ค. 2550 12:52]
ข้อคิดเห็นที่ 21:30

ความหมายของสารเติมแต่งตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขปี2507หรือปีอื่นๆ

โดย:  บางบัวทอง  [21 ม.ค. 2550 10:43]
ข้อคิดเห็นที่ 22:33

กองควบคุมอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้รวบรวมกฎหมายที่เกี่ยวข้องไว้ให้อ่านและ download ที่เว็บไซต์ของกอง ส่วนประกาศกระทรวงสาธารณสุขดูที่ http://www.qmaker.com/fda/new/web_cms/subcol.php?SubCol_ID=46&Col_ID=9 สำหรับประกาศฯ เรื่องวัตถุเจืปนอาหาร จะเป็นประกาศฯ ฉบับที่ 281 ค่ะ

โดย:  วลัยพร  [23 ม.ค. 2550 21:13]
ข้อคิดเห็นที่ 23:34

หายากจังสารปรุงแต่งอาหาร

โดย:  โคนันclub  [26 ม.ค. 2550 14:32]
ข้อคิดเห็นที่ 24:35

ทำไมไม่ตอบสักทีจะทำรางงานเหมือนกัน

โดย:  มารูโก๊ะจอมเกี๊ยว  [1 ก.พ. 2550 15:29]
ข้อคิดเห็นที่ 25:36

อยากรู้ว่าสารปรุงเเต่งอาหารคืออะไร

โดย:  เเวรุสมีนา  [20 ก.พ. 2550 13:09]
ข้อคิดเห็นที่ 26:38

อยากทราบเรื่องอาหารที่มีส่วนประกอบของสารบอเเรต

โดย:  โด่ง  [19 มี.ค. 2550 13:51]
ข้อคิดเห็นที่ 27:39

บอแรกซ์
หรือ น้ำประสานทอง หรือ ผงกรอบ หรือ เพ่งแซ

อาหารที่มักตรวจพบ
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ เช่น หมูสด หมูบด ปลาบด ทอดมัน ลูกชิ้น ไส้กรอก แป้งกรุบ ทับทิมกรอบ ผลไม้ดอง เป็นต้น

อันตรายต่อผู้บริโภค
บอแรกซ์ เป็นสารที่มีพิษต่อร่างกาย ความรุนแรงของการเกิดพิษขึ้นกับปริมาณที่ร่างกายได้รับและการสะสมในร่างกาย หากได้รับในปริมาณไม่มากแต่ได้รับบ่อยเป็นเวลานาน จะเกิดอาการเรื้อรัง เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผิวหนังแห้งอักเสบ หนังตาบวม เยื่อตาอักเสบ ตับ และไตอักเสบ ระบบสืบพันธ์เสื่อมสมรรถภาพ เป็นต้น แต่ถ้าได้รับบอแรกซ์ในปริมาณสูงจะเกิดอาการเป็นพิษแบบเฉียบพลัน เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ อุจจาระร่วง เป็นต้น บางครั้งอาจรุนแรงถึงเสียชีวิตได้

การป้องกันเพื่อความปลอดภัย
1. หลีกเลี่ยงอาหารที่หยุ่นกรอบอยู่ได้นานผิดปกติ
2. เนื้อสัตว์ที่ซื้อมาปรุงอาหารต้องล้างให้สะอาดก่อนนำไปหั่น หรือสับ
3. ใช้ชุดทดสอบเบื้องต้นที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ผลิตออกจำหน่าย
4. หากสงสัย หรือพบมีการนำบอแรกซ์มาผสมอาหารให้ร้องเรียนกับ อย.

copy มาจาก http://www.prc.ac.th/healthy/p7.htm

โดย:  วลัยพร  [30 มี.ค. 2550 18:59]
ข้อคิดเห็นที่ 28:40

อยากรู้ว่าสารบอแรกเข้าไปในร่างกายแล้วขับออกมาในรูปอะไร
และขับออกมาทางไหนได้บ้าง
ตอบที
ได้โปรด

โดย:  jiba  [30 เม.ย. 2550 20:17]
ข้อคิดเห็นที่ 29:41

หาสารพิษในชีวิตประจำวันไม่เจอเลย  (ใครเจอแล้วบอกด้วยนะคะ)

โดย:  นก  [15 พ.ค. 2550 18:09]
ข้อคิดเห็นที่ 30:44

ทำรายงานธาตุหรือสารประกอบในชีวิตประจำวันที่มีทองแดงและโครเมียมประกอบค่ะ  แต่หาไม่ได้เลย ใครหาได้บอกทีนะค่ะ  เอาเนื้อหาสำหรับม.5คะ

โดย:  สาวแก้มป่องO_O  [12 มิ.ย. 2550 19:42]
ข้อคิดเห็นที่ 31:45

จะทำรายงานเรื่องสารอาหารแต่ข้อมูลหาอยากมากๆ


โดย:  คน  คน  หนึ่ง  [14 มิ.ย. 2550 10:57]
ข้อคิดเห็นที่ 32:46

สารประกอบของโครเมียมและทองแดงที่เอามาใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันเช่น
Chromium trihydroxide
Chromium III (unspecified compound)
Chromium (III) oxide
Dichromium trioxide
ถ้าสนใจว่าแต่ละตัวใช้ในผลิตภัณฑ์อะไรให้เข้าไปคลิกดูที่ http://householdproducts.nlm.nih.gov/ingredients.htm โดยใส่คำค้นหา "chromium"

ส่วนทองแดงก็สามารถดูได้ด้วยวิธีเดียวกันค่ะ แต่ใส่คำว่า "copper" แทน (จะเจอ 12 ตัว) ลองดูค่ะ



โดย:  วลัยพร  [30 มิ.ย. 2550 11:22]
ข้อคิดเห็นที่ 33:47

ทำรายงานเหมือนกัน หายากจังครับ


โดย:  เด็กป.4  [13 ส.ค. 2550 11:34]
ข้อคิดเห็นที่ 34:49

คุณวลัยพร เก่งเคมีจังเลยนะครับ
สงสัยจะเป็นคนน่ารักด้วย ช่วยเหลือคนอื่นดีจัง

โดย:  BEAN  [29 ส.ค. 2550 21:04]
ข้อคิดเห็นที่ 35:50

รายงานเรื่องสารปรุงแต่งอาหารหาไม่เจอช่วยหาหน่อย   ส่งวันศุกร์ ที่ 31ส.ค  2550

โดย:  คนน่ารัก - -  [30 ส.ค. 2550 15:04]
ข้อคิดเห็นที่ 36:52

รสดีใช้หมูบดใช่ไหม

โดย:  รสดีใช้ส่วนผสมของอะไร  [12 ก.ย. 2550 20:22]
ข้อคิดเห็นที่ 37:54

หาไม่เจอเหมือนกัน ฮิๆๆๆๆ

โดย:  เด็กไผ่วง เล่ ม6  [18 ก.ย. 2550 13:01]
ข้อคิดเห็นที่ 38:55

ช่วยยกตัวอย่างสารปรุงเเต่งอาหารให้หน่อยค่ะ     ด่วนๆๆๆๆต้องส่งพรุ่งนี้

โดย:  เรไร  [20 ก.ย. 2550 20:22]
ข้อคิดเห็นที่ 39:56

ช่วยหาความหมายของสารปรุงเเต่งอาหารด้วยนะค่ะ  กรุณาด้วยนะค่ะ

โดย:  โอดีน่า  [5 ต.ค. 2550 13:37]
ข้อคิดเห็นที่ 40:59

สารปรุงเเต่งอาหารคืออะไร


โดย:  น ร  [8 พ.ย. 2550 19:20]
ข้อคิดเห็นที่ 41:60

สารปรุงแต่งอาหารคืออิหยังหนอ

โดย:  เด็ก มต้น  [12 พ.ย. 2550 15:44]
ข้อคิดเห็นที่ 42:61

สารที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อสิ่งที่นำมาผสมลงไปด้วยกัน

โดย:  ดูด210  [18 พ.ย. 2550 10:40]
ข้อคิดเห็นที่ 43:62

ไม่เจอเลยครับ จะทำการบ้าน

โดย:  m  [20 พ.ย. 2550 18:44]
ข้อคิดเห็นที่ 44:63

อันนี้น่าจะใช้ได้บ้างแหละ คลิกดูเลย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/chem/pages/content-pb1_1.htm เขาเล่าเรื่องสารปรุงแต่งอาหารไว้

โดย:  พี่เค็ม  [22 พ.ย. 2550 18:29]
ข้อคิดเห็นที่ 45:68

อยากทราบการทดสอบสารที่ใช้ในชีวิตประจำวันเช่น โลชั่น สบู่ น้ำยาล้างจาน เป็นต้น ใครรู้บ้างช่วยบอกที่ จะได้เอาไปทำรายงานส่งอาจารย์

โดย:  คน  [24 ธ.ค. 2550 14:15]
ข้อคิดเห็นที่ 46:69

สารปรุงแต่งอาหาร

โดย:  เด็กพิศาล  [7 ม.ค. 2551 11:57]
ข้อคิดเห็นที่ 47:70

บอแรกซ์
หรือ น้ำประสานทอง หรือ ผงกรอบ หรือ เพ่งแซ

อาหารที่มักตรวจพบ
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์ เช่น หมูสด หมูบด ปลาบด ทอดมัน ลูกชิ้น ไส้กรอก แป้งกรุบ ทับทิมกรอบ ผลไม้ดอง เป็นต้น

อันตรายต่อผู้บริโภค
บอแรกซ์ เป็นสารที่มีพิษต่อร่างกาย ความรุนแรงของการเกิดพิษขึ้นกับปริมาณที่ร่างกายได้รับและการสะสมในร่างกาย หากได้รับในปริมาณไม่มากแต่ได้รับบ่อยเป็นเวลานาน จะเกิดอาการเรื้อรัง เช่น อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผิวหนังแห้งอักเสบ หนังตาบวม เยื่อตาอักเสบ ตับ และไตอักเสบ ระบบสืบพันธ์เสื่อมสมรรถภาพ เป็นต้น แต่ถ้าได้รับบอแรกซ์ในปริมาณสูงจะเกิดอาการเป็นพิษแบบเฉียบพลัน เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ อุจจาระร่วง เป็นต้น บางครั้งอาจรุนแรงถึงเสียชีวิตได้

การป้องกันเพื่อความปลอดภัย
1. หลีกเลี่ยงอาหารที่หยุ่นกรอบอยู่ได้นานผิดปกติ
2. เนื้อสัตว์ที่ซื้อมาปรุงอาหารต้องล้างให้สะอาดก่อนนำไปหั่น หรือสับ
3. ใช้ชุดทดสอบเบื้องต้นที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ผลิตออกจำหน่าย
4. หากสงสัย หรือพบมีการนำบอแรกซ์มาผสมอาหารให้ร้องเรียนกับ อย.

โดย:  อีว  [10 ม.ค. 2551 20:13]
ข้อคิดเห็นที่ 48:71

สารปรุงเเต่งเกิดจากอะไรช่วยบอกด้วยค่ะ

โดย:  คนหน้ารักมีปัญหา  [14 ม.ค. 2551 17:42]
ข้อคิดเห็นที่ 49:72

สวัสดีค่ะผู้อ่าน มีปัญหาเรื่องสารปรุงเเต่งซึ่งหามานานเเล้วยังไม่เจอใน google.com ซึ่งน่าจะหาเจอเเล้ว เลยทำให้คนอื่นเขาคิดว่าหาเจอหมด เเต่ที่ไหนได้หาอ่านหนังสือก็ได้นิดเดียวเอง จะทำงานก็ไม่ได้ทำมัวเเต่หาสารทำความสะอาดกุมใจมากๆ เลย ดิฉันคิดว่าคนอื่นคงมีปัญหาเหมือนกันนะค่ะถ้าใครรู้ก็ช่วยบอกด้วย ไม่ใช่มีความรู้เเล้วก็ทิ้งนะค่ะ คนที่เขียนมาทุกคนคงมีปัญหา นี้ถ้าคนที่สร้าง google.com ช่วยให้มีเเต่เว็บที่มีความรู้มากกว่านี้ก็ดีนะค่ะ

โดย:  คนมีปัญหาหางานไม่พบกุมใจมากๆเลย  [14 ม.ค. 2551 17:53]
ข้อคิดเห็นที่ 50:73

หายากมากเลย สารปรุงแต่งอาหาร ไม่ตรงตามที่ต้องการเลย

โดย:  คนกำลังเคลียด  [20 ก.พ. 2551 19:15]
ข้อคิดเห็นที่ 51:74

ช่วยหาสารที่ใช้ในชีวิตประจำวันทีคร๊าฟ--บอกเว็บมาด้วยนะ

โดย:  GM  [5 มี.ค. 2551 17:51]
ข้อคิดเห็นที่ 52:75

เหมือนกันค่ะ

หาเเล้วไม่ค่อยตรงประเด็นหง่า

โดย:  พอลล่า  [19 พ.ค. 2551 19:29]
ข้อคิดเห็นที่ 53:78

ในการจำแนกสารเคมี

โดย:  เกวลิน  [1 ก.ค. 2551 14:36]
ข้อคิดเห็นที่ 54:79

http://www.gccthai.com/thai/?name=foodtestkit        
( ชุดทดสอบ สำหรับอาหาร )

โดย:  นักเคมี  [17 ส.ค. 2551 18:09]
ข้อคิดเห็นที่ 55:80

http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_food_additives        
http://www.cspinet.org/reports/chemcuisine.htm

โดย:  นักเคมี  [17 ส.ค. 2551 18:16]
ข้อคิดเห็นที่ 56:81

คือการเเต่งสี   เเต่งกลิ่น  เเต่งรส

โดย:  ปุยฝ้าย,อิงฟ้า,ปลายฟ้า  [18 ส.ค. 2551 17:53]
ข้อคิดเห็นที่ 57:82

อยากรู้เร็วๆจังจะไปทามรายงานส่งครูวัน พฤหัสนี้ อยากด้ายด่วนสุดๆจร้า


โดย:  น้ำฝน,น้ำผึ้ง และ เพื่อนๆชาว ม.1/3  [19 ส.ค. 2551 16:57]
ข้อคิดเห็นที่ 58:83

สารปรุงแต่งอาหารเกิดจากอะไรคะ

โดย:  แนนซี่  [27 ส.ค. 2551 19:43]
ข้อคิดเห็นที่ 59:84

หาคำถาม  ไม่ค่อยเจอเลยๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ

โดย:  โฟร์โมส  [27 ส.ค. 2551 20:04]
ข้อคิดเห็นที่ 60:85

อยากด้ายเรื่องสารปรุงจังเลยจะส่งรายงานและส่งวันที่ 31 ส.ค. 2551 นี่และนะอยากด้ายโดยด่วนที่สุดเลย

โดย:  อิง  [28 ส.ค. 2551 17:28]
ข้อคิดเห็นที่ 61:86

เรื่อง  สารปรุงแต่งอาหาร        
http://en.wikipedia.org/wiki/Food_additive        Food Additives        สารปรุงแต่งอาหาร        
http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_food_additives        List of Food Additives    ( A  to  Z )        
http://www.cspinet.org/reports/chemcuisine.htm        Food Additive Rating  ( Safe ,  Cut Back ,  Caution ,  Certain People should Avoid ,  Avoid )            
http://en.wikipedia.org/wiki/E_number        E Number Codes for Food Additives        
http://www.foodsafety.gov/~lrd/foodaddi.html        

http://www.gccthai.com/thai/?name=foodtestkit        Food Test Kit    ( ชุดทดสอบ สำหรับอาหาร )

โดย:  นักเคมี  [30 ส.ค. 2551 19:00]
ข้อคิดเห็นที่ 62:87

เรื่อง  วัตถุเจือปนอาหาร : ประโยชน์หรือโทษภัย
โดย  รศ. ธิติรัตน์ ปานม่วง    ภาควิชาอาหารเคมี  คณะเภสัชศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย        

วัตถุเจือปนอาหาร คือ อะไร        

คณะกรรมาธิการพิจารณาร่างมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ สาขาวัตถุเจือปนอาหารและสารปนเปื้อน  ( Codex Committee on Food Additives and Contaminants ; CCFAC , 1972 )  และ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้คำจำกัดความว่า  
“ วัตถุเจือปนอาหาร “  หมายถึง  
สารใด ๆ ซึ่งปกติมิได้ใช้เป็นอาหารหรือเป็นส่วนประกอบหลักของอาหาร    อาจมีคุณค่าทางโภชนาการ หรือไม่ก็ได้    เป็นสารที่ตั้งใจเติมลงในอาหาร เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านเทคโนโลยีการผลิต การเตรียมวัตถุดิบ และ การแปรรูป การบรรจุ การขนส่ง การเก็บรักษาอาหาร และ มีผลหรืออาจมีผลทางตรงหรือทางอ้อม ทำให้สารนั้นหรือผลิตผลพลอยได้ของสารนั้นกลายเป็นส่วนประกอบของอาหารนั้น หรือ มีผลต่อคุณลักษณะของอาหารนั้น    แต่ไม่รวมถึง สารปนเปื้อน  หรือ สารที่เติมลงไปเพื่อปรับปรุงคุณค่าทางอาหารของอาหาร    
โดยที่การใชัวัตถุเจือปนอาหารต้องมิได้มีเจตนาหลอกลวงผู้บริโภค หรือปิดบังการใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพไม่ดี หรือการผลิตที่มีการสุขาภิบาลไม่ถูกต้องและต้องไม่ทำให้คุณค่าทางอาหารลดลงด้วย

คุณสมบัติทั่ว ๆ ไปของวัตถุเจือปนอาหาร ได้แก่  ไม่เป็นพิษ  ใช้จำนวนเล็กน้อยก็ได้ผล  ไม่ทำให้สี กลิ่น รส ลักษณะของอาหารเปลี่ยนแปลงไปในทางที่เสื่อมคุณภาพ  และ  ต้องเป็นชนิดที่ผ่านการทดสอบและอนุญาตให้ใช้เติมลงในอาหารได้        


ทำไมจึงต้องใช้วัตถุเจือปนอาหาร        

ปัจจัยสำคัญในการดำรงชีพของคนเราไม่ว่ายุคสมัยใด ก็ยังคงเป็นอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย เช่นเดิม เพียงแต่มีการพัฒนาปัจจัยต่าง ๆ ให้ก้าวหน้าทันสมัย อำนวยความสะดวก ความสุขและความพอใจให้มนุษย์เรามากขึ้น ในเรื่องอาหารก็เช่นเดียวกัน ระยะแรกก็กินอาหารพืช ผัก ตามธรรมชาติ ต่อมาก็มีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์เป็นอาหาร และพัฒนาเรื่อยมา รู้จักการเก็บถนอมอาหารไว้บริโภคในยามขาดแคลน หรือบริโภคนอกฤดูกาล ประกอบกับวิถีชีวิตอันเร่งรีบในสังคมเมือง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอาหาร ทำให้มีการผลิตอาหารสำเร็จรูป กึ่งสำเร็จรูป อาหารพร้อมบริโภค การใช้วัตเจือปนอาหารก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้ผลิตอาหารได้ตามความต้องการ


วัตถุประสงค์ในการใช้วัตถุเจือปนอาหารมีหลายประการ  ได้แก่        

1. เพื่อเก็บถนอมหรือยืดอายุการเก็บของอาหารไว้ ตัวอย่างเช่นในระยะที่มีผลผลิตทางการเกษตรมากเกินไปในฤดู โดยเฉพาะประเทศไทยมีอุณหภูมิและความชื้นค่อนข้างสูง ซึ่งเป็นสภาวะเร่งการเสียของอาหาร เนื่องจากปฏิกิริยาทางเคมีและจุลินทรีย์ จึงจำเป็นต้องใช้วัตถุเจือปนอาหารเพื่อป้องกันการเสื่อมคุณภาพของอาหาร        
2. เพื่อปรุงแต่งลักษณะสี กลิ่น รส ให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ        
3. เพื่อช่วยในกระบวนการผลิต เช่น การใช้วัตถุป้องกันการเกิดฟองที่มากเกินไปในกระบวนการผลิต น้ำมันพืช น้ำเชื่อมเข้มข้น เป็นต้น        
4. เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารชนิดใหม่ ๆ ขึ้นมา ทำให้มีอาหารหลากหลายชนิด        


วัตถุเจือปนที่ใช้ในอาหารแบ่งเป็นหลายกลุ่ม ตามวัตถุประสงค์การใช้ที่แตกต่างกัน

1. วัตถุกันเสีย
หมายถึง สารที่เติมลงในอาหารเพื่อป้องกันการเสีย บูดเน่าของอาหาร สารนี้จะไปควบคุมการเจริญเติบโต หรือทำลาย
จุลินทรีย์ ที่เป็นสาเหตุของการเสื่อมคุณภาพของอาหาร วัตถุกันเสียที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย  ได้แก่
กรดและเกลือของกรดต่างๆ เช่น  กรดน้ำส้ม  กรดเบนโซอิค  กรดซอร์บิค  กรดโพรพิออนิค        
สารประกอบไนไตรท์  สารนี้มักเติมลงในอาหารเนื้อสัตว์เพื่อให้เนื้อสัตว์มีสีชมพู / แดง ที่คงที่ และเพื่อชะลอการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ Clostridium botulinum ซึ่งสามารถผลิตสารพิษ botulinum toxin ที่เป็นอันตรายถึงแก่ชีวิต อาหารที่มักพบว่าใส่สารประกอบไนเตรดและไนไตรท์ ได้แก่  เนื้อเค็ม  เนื้อแดดเดียว  ปลาแดดเดียว  ไส้กรอก  หมูแฮม  เบคอน        
เกลือซัลไฟท์ และ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์  สารนี้เมื่อรวมตัวกับน้ำจะเปลี่ยนเป็นกรดซัลฟูรัส ซึ่งมีฤทธิ์ในการทำลายหรือชะงักการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ใช้ป้องกันการเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลในอาหารพวกผัก ผลไม้แห้ง น้ำหวานต่าง ๆ ไวน์ วุ้นเส้นแห้ง เส้นก๋วยเตี๋ยวแห้ง เส้นหมี่แห้ง ผลิตภัณฑ์มันฝรั่ง และ ผลไม้บรรจุกระป๋อง        

2. วัตถุกันหืน        
หมายถึง สารที่ใช้เพื่อชะลอการเสียของอาหารอันเนื่องมาจากปฏิกิริยาออกซิเดชัน ลักษณะการเสื่อมคุณภาพจากปฏิกิริยานี้ รวมถึงการมีกลิ่นผิดปกติ เช่น กลิ่นหืน กลิ่น สี รส ผิดปกติไปจากเดิม อาจเกิดสารประกอบใหม่ที่อาจเป็นอันตรายต่อร่างกายด้วย  
ปฏิกิริยาออกซิเดชันของไขมันและน้ำมันมีความสำคัญต่อผลิตภัณฑ์อาหารประเภทน้ำมัน ไขมัน เนย เนยเทียม ผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ และอาหารที่ปรุงสุกโดยการทอดด้วยน้ำมัน        
วัตถุกันหืนที่ใช้กันมาก ได้แก่  BHA  BHT  TBHQ  PG

3. สี        
การใช้สีผสมอาหาร เพื่อแต่งสีให้อาหารมีลักษณะคล้ายธรรมชาติ หรือเพื่อให้มีสีสม่ำเสมอ และอาจใช้เพื่อจำแนกกลิ่น รสของอาหารก็ได้        
สีที่ใช้ผสมอาหารมี 2 จำพวก ได้แก่  
สีธรรมชาติ จาก  ใบเตย  กระเจี๊ยบ  ใบย่านาง  ดอกอัญชัน  ลูกตาล  สีน้ำตาลเคี่ยวไหม้        
สีสังเคราะห์ ซึ่งสร้างจากสารเคมีต่างๆ        
สีสังเคราะห์มีความคงตัวดีกว่าสีธรรมชาติ แต่ต้องใช้เฉพาะชนิดที่อนุญาตให้ใช้และปริมาณที่กำหนดเท่านั้น
รายชื่ออาหารที่ไม่ให้ใช้สีทุกชนิด ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 66 พ.ศ. 2525 ได้แก่  อาหารทารก  อาหารเสริมสำหรับเด็ก  นมดัดแปลงสำหรับทารก  ผลไม้สด  ผลไม้ดอง  ผักดอง  เนื้อสัตว์สดทุกชนิด (เว้นแต่สีจากขมิ้นและผงกะหรี่สำหรับไก่สด)  เนื้อสัตว์ทุกชนิดที่ปรุงแต่ง  เช่น  ปลาเค็ม  กุ้งเค็ม  เนื้อเค็ม  กุ้งหวาน  ปลาหวาน  ไก่ย่าง  หมูย่าง  เนื้อย่าง (ยกเว้นสีจากขมิ้น และผงกะหรี่)  แหนม  กุนเชียง  ทอดมัน  กะปิ  ข้าวเกรียบต่าง ๆ  บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป  เส้นบะหมี่  แผ่นเกี๊ยว  หมี่ซั่ว  สปาเก็ตตี้  มักกะโรนี        

4. กลุ่มวัตถุเจือปนที่ใช้ปรับสภาพความเป็น กรด-ด่าง ของอาหาร  
วัตถุประสงค์ต่าง ๆ กันแล้วแต่ชนิดของผลิตภัณฑ์อาหาร  ตัวอย่างเช่น
-เพื่อให้อาหารมีความคงตัวดี เช่น การเติมแยม เยลลี่ ต้องปรับสภาพความเป็นกรดให้พอดี ถ้ากรดมากเกินไป ผลิตภัณฑ์จะเละ        
- เพื่อให้อาหารมีสีตามต้องการ ตัวอย่าง น้ำกระเจี๊ยบ จะมีสีแดงสด เมื่อมีความเป็นกรดสูงพอดี ถ้า
  ความเป็นกรดต่ำลงคือมีความเป็นด่างมากขึ้น จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงิน
- เพื่อป้องกันการเกิดสารสีน้ำตาลในผักผลไม้ที่ปอกเปลือกหรือหั่นแล้ว ถ้าจุ่มหรือแช่ผักผลไม้
  เหล่านั้นในสารละลายกรด เช่น  กรดซิตริก  น้ำมะนาว จะป้องกันการเกิดสารสีน้ำตาลได้    
- เพื่อปรุงแต่งกลิ่น รสให้ผลิตภัณฑ์อาหาร กรดชนิดต่าง ๆ ที่เติมลงในอาหารช่วยเพิ่มกลิ่นรส เช่น  ทำให้มีรสเปรี้ยว
  รวมทั้งกลิ่นเฉพาะ เช่น กรดทาร์ทาริก จะให้รสองุ่นและรสมะขาม  หรือ  กรดมาลิก จะให้รสแอปเปิ้ล  เป็นต้น

5. กลุ่มวัตถุเจือปนที่ช่วยคงสภาพอาหาร      

กลุ่มวัตถุเจือปนที่ช่วยคงรูปผัก ผลไม้ที่ผ่านกระบวนการ แปรรูปให้คงสภาพเดิมมากสุด    
ในการแปรรูปผักผลไม้ เช่น ผักผลไม้ดอง ผักผลไม้บรรจุกระป๋อง มักพบว่าอาหารจะนิ่ม เละ หรือแตก ในครัวเรือนของคนไทย จะใช้น้ำปูนใส ทำให้ผักผลไม้มีความคงตัวไม่เละ ในอุตสาหกรรมอาหาร ใช้ เกลือแคลเซียมคลอไรด์  
โปแตสเซียมคลอไรด์  แมกนีเซียมคลอไรด์  เติมลงในระหว่างการแปรรูปผักและผลไม้ ทำให้ผลิตภัณฑ์มีความแข็งหรือกรอบ ลักษณะเนื้อสัมผัสดีขึ้น    
อาหารที่ใช้วัตถุคงรูป ได้แก่ ผักดอง ผลไม้ดอง ผลไม้แช่อิ่ม ผลไม้กวน ผักผลไม้บรรจุกระป๋อง เป็นต้น

กลุ่มวัตถุเจือปนที่ช่วยทำให้อาหารเป็นเนื้อเดียวกัน ผลิตภัณฑ์ที่มีน้ำและน้ำมันเป็นส่วนประกอบหลักซึ่งการทำให้ส่วนผสมเนียนเป็นเนื้อเดียวกัน ต้องใช้อิมัลซิไฟเออร์ช่วยประสานให้น้ำและน้ำมันรวมตัวกันได้โดยไม่แยกชั้น อิมัลซิไฟเออร์ตามธรรมชาติได้แก่ เลซิทินในไข่แดง และในถั่วเหลือง อิมัลซิไฟเออร์สังเคราะห์ ได้แก่  โมโนแซคคาไรด์ และอนุพันธ์ โพรพีลีนไกลคอลเอสเทอร์  เช่น  การเติมอิมัลซิไฟเออร์ ในผลิตภัณฑ์ น้ำสลัด  มายองเนส  ซอส และ  น้ำจิ้มบางชนิด        

6. วัตถุป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน
หมายถึง สารที่เติมลงในอาหารผงแห้ง เพื่อช่วยเก็บหรือดูดความชื้นไว้โดยที่สารนี้ไม่ชื้น สารนี้อาจไปรวมตัวกับน้ำในผลิตภัณฑ์อาหาร หรือจับน้ำจากบรรยากาศที่เก็บอาหารก็ได้    
สารเคมีที่ใช้ ได้แก่  แคลเซียมซิลิเกต  แมกนีเซียมสเตียเรท  แมกนีเซียมไตรซิลิเกต  ไตรแคลเซียมโมโนฟอสเฟต    อาหารประเภทผงแห้งต่าง ๆ เช่น เครื่องดื่มผง  กาแฟผง  ซุปผง มักพบปัญหาการรวมตัวเป็นก้อนแข็ง เมื่อเติมน้ำจะไม่ละลายหรือละลายได้ยาก การที่อาหารมีความชื้นเพิ่มขึ้นเกิดการเสื่อมคุณภาพจากจุลินทรีย์ได้  จึงต้องเติมวัตถุป้องกันการรวมตัวเป็นก้อน เพื่อทำให้อาหารคงสภาพเป็นผงแห้ง    
อาหารที่ใช้วัตถุเจือปนกลุ่มนี้ ได้แก่  ครีมเทียมผง  กาแฟผง  เครื่องดื่มผง  น้ำตาลทรายชนิดผงละเอียด  เจลาตินผง  หัวหอมผง  กระเทียมผง  ซอสผง  แป้งเค้กสำเร็จรูป  ผงฟู        


พิษภัยของวัตถุเจือปนอาหาร

วัตถุเจือปนอาหารมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมอาหาร ช่วยให้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารได้หลากหลายชนิด มีคุณภาพได้มาตรฐาน ในทางตรงกันข้าม ถ้าหากใช้ไม่ถูกต้องก็จะเป็นสาเหตุให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้เช่นกัน ปัญหาพิษภัยที่เกิดจากวัตถุเจือปนอาหารอาจเกิดได้หลายรูปแบบ

` ใช้ผิดประเภท ได้แก่

โดย:  นักเคมี  [30 ส.ค. 2551 20:50]
ข้อคิดเห็นที่ 63:88

http://www.ufmeducation.com/new/thai/detailtips.php?id=46        สารปรุงแต่งอาหารมีประโยชน์หรือโทษภัย  ตอน 1        
http://www.ufmeducation.com/new/thai/detailtips.php?id=47        สารปรุงแต่งอาหารมีประโยชน์หรือโทษภัย  ตอน 2      
http://www.ufmeducation.com/new/thai/detailtips.php?id=49        สารปรุงแต่งอาหารมีประโยชน์หรือโทษภัย  ตอน 3

โดย:  นักเคมี  [30 ส.ค. 2551 20:51]
ข้อคิดเห็นที่ 64:98

อยากรู้การทดลองของสารในชีวิตประจำวัน (สัก 5 ตัวอย่าง) ค่ะขอบคุณที่ให้คำตอบค่ะ

โดย:  นาจา  [31 ต.ค. 2551 23:00]
ข้อคิดเห็นที่ 65:107

ดีค่ะ

โดย:  นีช  [14 พ.ย. 2551 11:11]
ข้อคิดเห็นที่ 66:108

จาทำรายงานค่ะตอบทีคัยรู้บ้างค่ะ

โดย:  พริกไทย  [15 พ.ย. 2551 11:52]
ข้อคิดเห็นที่ 67:109

สารปรุงเเต่งอาหารหมายถึง สารที่เราได้ใช้ประโยขน์ในการปรุงเเต่งอาหาร เว้ย

โดย:  เด็กหล่อคนหนึ่งที่รัก ลิลลี่  [16 พ.ย. 2551 12:47]
ข้อคิดเห็นที่ 68:110

สารทำความสะอาด
ความหมายของสารทำความสะอาด
  หมายถึง คุณสมบัติในการกำจัดความสกปรกต่างๆ ตลอดจนฆ่าเชื้อโรค
ประเภทของสารทำความสะอาด
   แบ่งตามการเกิด ได้ 2 ประเภท คือ
1. ได้จากการสังเคราะห์ เช่น น้ำยาล้างจาน สบู่ก้อน สบู่เหลว แชมพูสระผม ผงซักฟอก สารทำความสะอาดพื้น  เป็นต้น
2. ได้จากธรรมชาติ เช่น น้ำมะกรูด มะขามเปียก เกลือ เป็นต้น
แบ่งตามวัตถุประสงค์ในการใช้งานเป็นเกณฑ์ แบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. สารประเภททำความสะอาดร่างกาย ได้แก่ สบู่ แชมพูสระผม เป็นต้น
2. สารประเภททำความสะอาดเสื้อผ้า ได้แก่ สารซักฟอกชนิดต่างๆ
3. สารประเภททำความสะอาดภาชนะ ได้แก่ น้ำยาล้างจาน เป็นต้น
4. สารประเภททำความสะอาดห้องน้ำ ได้แก่ สารทำความสะอาดห้องน้ำทั้งชนิดผงและชนิดเหลว  


โดย:  คนที่รักมิน  [16 พ.ย. 2551 12:48]
ข้อคิดเห็นที่ 69:113

ใครรู้บ้างช่วยตอบทีจะส่งครูในวันศุกร์นี้

โดย:  เด็กเรียนดี  [22 พ.ย. 2551 11:04]
ข้อคิดเห็นที่ 70:114

อยากได้เรื่องสารปรุงแต่งอ่ะ

เนื้อหาแบบละเอียด

ส่งภายในสิ้นเดือนนี้

ใครก้อได้ช่วยหน่อย

โดย:  เด็กวิทย์  [25 พ.ย. 2551 09:18]
ข้อคิดเห็นที่ 71:123

อยากได้สารปรุงเเต่งอาหารเยอะกว่านี้

โดย:  เด็กเทพ  [18 ธ.ค. 2551 18:49]
ข้อคิดเห็นที่ 72:124

ขอบคุณค่ะ

โดย:  เด็กเรียน  [20 ธ.ค. 2551 14:19]
ข้อคิดเห็นที่ 73:125

อยากรู้สารช่วยเปื่อยคืออะไร
ทำรายงานไม่มีข้อมูลเลย
ช่วยตอบที

โดย:  นักศึกษา  [22 ธ.ค. 2551 17:23]
ข้อคิดเห็นที่ 74:126

( ไม่ใช่ คำตอบ )        

วิธี ที่ง่ายที่สุด สำหรับ คน ขี้เกียจคิด ขี้เกียจถาม ขี้เกียจอ่าน    คือ    

รอให้คำตอบ ไปแปะอยู่ที่ปลายทาง  
( คอมพิวเตอร์ ของ ครู-อาจารย์  หรือ  รายงาน  หรือ  สมุดการบ้าน  หรือ สมุดโครงงาน  ฯลฯ  ได้เอง )

โดย:  นักเคมี  [31 ธ.ค. 2551 13:09]
ข้อคิดเห็นที่ 75:127

http://en.wikipedia.org/wiki/Food_additive        Food Additives        สารปรุงแต่งอาหาร        
http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_food_additives        List of Food Additives    ( A  to  Z )        
http://www.cspinet.org/reports/chemcuisine.htm        Food Additive Rating  ( Safe ,  Cut Back ,  Caution ,  Certain People should Avoid ,  Avoid )            
http://en.wikipedia.org/wiki/E_number        E Number Codes for Food Additives        
http://www.foodsafety.gov/~lrd/foodaddi.html

โดย:  นักเคมี  [31 ธ.ค. 2551 13:14]
ข้อคิดเห็นที่ 76:128

http://www.ufmeducation.com/new/thai/tips.php        เคล็ด ( ไม่ ) ลับ กับ UFM        
http://www.ufmeducation.com/new/thai/detailtips.php?id=46        สารปรุงแต่งอาหารมีประโยชน์หรือโทษภัย  ตอน 1        
http://www.ufmeducation.com/new/thai/detailtips.php?id=47        สารปรุงแต่งอาหารมีประโยชน์หรือโทษภัย  ตอน 2      
http://www.ufmeducation.com/new/thai/detailtips.php?id=49        สารปรุงแต่งอาหารมีประโยชน์หรือโทษภัย  ตอน 3        

http://en.wikipedia.org/wiki/Sweetener        Sweetener    สารให้ความหวาน        
http://en.wikipedia.org/wiki/Sugar_substitute        Sugar Substitute        สารให้ความหวาน ที่ใช้แทน น้ำตาล        

http://www.fda.moph.go.th/project/foodsafety/foodsafety46f10.htm        ของ  กระทรวงสาธารณสุข        

http://www.gccthai.com/thai/?name=foodtestkit        Food Test Kit    ( ชุดทดสอบ สำหรับอาหาร )

โดย:  นักเคมี  [31 ธ.ค. 2551 13:16]
ข้อคิดเห็นที่ 77:129

( ไม่ใช่ คำตอบ )        

วิธี ที่ง่ายที่สุด สำหรับ คน ขี้เกียจคิด ขี้เกียจถาม ขี้เกียจอ่าน    คือ    

รอให้คำตอบ ไปแปะอยู่ที่ปลายทาง  
( คอมพิวเตอร์ ของ ครู-อาจารย์  หรือ  รายงาน  หรือ  สมุดการบ้าน  หรือ สมุดโครงงาน  ฯลฯ  ได้เอง )

โดย:  นักเคมี  [31 ธ.ค. 2551 13:16]
ข้อคิดเห็นที่ 78:142

ประโยชน์และอันตรายที่เกิดจากสารปรุงแต่งอาหารในชีวิตประจําวัน อยากรู้จังคะ

โดย:  นางสาวเสาวคนธ์ รอดนุช  [10 มี.ค. 2552 08:40]
ข้อคิดเห็นที่ 79:147

เออคือว่าเวลาหาไรไม่ค่อยจะเจอเนียมันงุงิดมากครับ ผมเห็นน้องเค้าพิมพ์คำว่าความหมายของสารปรุงเเต่ง เเต่ก็มีเเต่คำตอบเรื่องอื่นพิมพ์คำว่าประเภทของสาร ก็กลายเป็นว่าส่วนของอาหารที่เป็นพิษ อะไรประมาณนี้มันเซ็งมากครับ ขอโทษด้วยที่ต่อว่าคุณที่ให้ความรู้เเต่หงุดงิดมากครับ

โดย:  นักศึกษา  หงุดงิด ครับ  [16 มี.ค. 2552 19:53]
ข้อคิดเห็นที่ 80:148

( ไม่ใช่ คำตอบ )    แต่ อนุโลม ว่า  ตอบ  " นักศึกษา  หงุดงิด ครับ "        

ไม่มีใคร เตรียมคำตอบ  ให้ตรงกับ ทุกคำถาม และ คำที่ใช้ค้นหาได้    โดยเฉพาะ ถ้าพิมพ์ คำค้นหา ผิดเพี้ยนไปมากๆ  จน ซอฟท์แวร์ช่วยค้นหา ยังหมดปัญญาช่วย    

ดังนั้น  จึงควรตั้งสติ นึกคำค้นหาให้ดี พิมพ์ให้ถูก ( หรือผิดเพียงเล็กน้อย )  และ  อ่าน ผลการค้นหา อย่างระวัง และ อย่างไม่มีอคติ  

ลองคิดดูว่า  ถ้า เว็บ นั้นๆ ไม่มีเรื่องที่เราค้นหา ( มีแต่คำที่ตรง โดยเรื่อง ไม่ตรง )  ทำไม ซอฟท์แวร์ช่วยค้นหา  จึงจัด เว็บ นั้น  อยู่ที่อันดับ ต้นๆ  

ลองดู คำตอบ ที่ 62  ซึ่ง มีเนื้อหา ครบถ้วน มากที่สุด สำหรับระดับนักเรียน    แต่  ใช้คำ วัตถุเจือปนในอาหาร  ( ซึ่ง รวมทั้ง สารปรุงแต่งอาหาร ไว้ด้วย  โดยไม่ใช้ ชื่อเรื่อง ว่า  สารปรุงแต่งอาหาร โดยตรง ) แต่ ผม ก็ไปค้นหาจนพบ  และ นำมาเสนอต่อใน เว็บไซต์นี้ ได้  นอกจากนี้  บทความนี้  ก็ไม่ได้  จัดแยกประเภท วัตถุเจือปนในอาหาร  ตามความต้องการ หรือ ความคาดหวัง ของผู้อ่าน  ( แต่จัดประเภท ตามหลักวิชาการ )    ทำให้ ผู้อ่าน จำนวนมาก  มองข้ามความพยายาม ที่จะรวบรวมความรู้มานำเสนอ ของ อาจารย์ท่านนั้น    ( ซึ่ง ผม ก็ไม่ได้ รู้จัก ท่าน   แต่ อดนึกเสียดาย  ไม่ได้ )

โดย:  นักเคมี  [17 มี.ค. 2552 09:28]
ข้อคิดเห็นที่ 81:149

แก้คำผิด  ใน คำตอบที่ 81        

( ไม่ใช่ คำตอบ )    แต่ อนุโลม ว่า  ตอบ  " นักศึกษา  หงุดงิด ครับ "        

ไม่มีใคร เตรียมคำตอบ  ให้ตรงกับ ทุกคำถาม และ คำที่ใช้ค้นหาได้    โดยเฉพาะ ถ้าพิมพ์ คำค้นหา ผิดเพี้ยนไปมากๆ  จน ซอฟท์แวร์ช่วยค้นหา ยังหมดปัญญาช่วย    

ดังนั้น  จึงควรตั้งสติ นึกคำค้นหาให้ดี พิมพ์ให้ถูก ( หรือผิดเพียงเล็กน้อย )  และ  อ่าน ผลการค้นหา อย่างระวัง และ อย่างไม่มีอคติ  

ลองคิดดูว่า  ถ้า เว็บ นั้นๆ ไม่มีเรื่องที่เราค้นหา ( มีแต่คำที่ตรง โดยเรื่อง ไม่ตรง )  ทำไม ซอฟท์แวร์ช่วยค้นหา  จึงจัด เว็บ นั้น  อยู่ที่อันดับ ต้นๆ  

ลองดู คำตอบ ที่ 62  ซึ่ง มีเนื้อหา ครบถ้วน มากที่สุด สำหรับระดับนักเรียน    แต่  ใช้คำ วัตถุเจือปนอาหาร  ( ซึ่ง รวมทั้ง สารปรุงแต่งอาหาร ไว้ด้วย  โดยไม่ใช้ ชื่อเรื่อง ว่า  สารปรุงแต่งอาหาร โดยตรง ) แต่ ผม ก็ไปค้นหาจนพบ  และ นำมาเสนอต่อใน เว็บไซต์นี้ ได้  นอกจากนี้  บทความนี้  ก็ไม่ได้  จัดแยกประเภท วัตถุเจือปนอาหาร  ตามความต้องการ หรือ ความคาดหวัง ของผู้อ่าน  ( แต่จัดประเภท ตามหลักวิชาการ )    ทำให้ ผู้อ่าน จำนวนมาก  มองข้ามความพยายาม ที่จะรวบรวมความรู้มานำเสนอ ของ อาจารย์ท่านนั้น    ( ซึ่ง ผม ก็ไม่ได้ รู้จัก ท่าน   แต่ อดนึกเสียดาย  ไม่ได้ )

โดย:  นักเคมี  [17 มี.ค. 2552 09:32]
ข้อคิดเห็นที่ 82:150

แนะนำ  เว็บไซต์  เรื่อง  สารเคมีในชีวิตประจำวัน     ที่  เนื้อหาสาระดี  รูปแบบสวยงาม  วิธีการนำเสนอน่าสนใจ  สื่อสารได้ดี  ฯลฯ        

http://www.pharm.su.ac.th/Chemistry-in-Life/room01.html        

จัดทำโดย คณาจารย์ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

โดย:  นักเคมี  [17 มี.ค. 2552 09:34]
ข้อคิดเห็นที่ 83:151

( สำหรับ ผู้ที่ไม่เคย เข้าชม เว็บไซต์นี้ )        

ขอแนะนำ    " ขบวนการโลกแสนสวย "    ( จัดทำ ตาม โครงการเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับสารเคมีและสิ่งแวดล้อมสำหรับเยาวชน )        

http://www.chemtrack.org/EnvForKids/        หน้าแรก    Home Page        
http://www.chemtrack.org/EnvForKids/menu.htm        หน้า เมนู    Menu Page      
http://www.chemtrack.org/EnvForKids/chemicals.htm        Chemicals Pages        ความรู้เกี่ยวกับสารเคมี    ( มี ข้อมูล ผลิตภัณฑ์ - สารเคมี ที่ พบ ใน ชีวิตประจำวัน  27 ชนิด )        

http://www.chemtrack.org/EnvForKids/MainMenu.htm        หน้า เมนูหลัก ของ ความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

โดย:  นักเคมี  [17 มี.ค. 2552 09:36]
ข้อคิดเห็นที่ 84:154

ตอบหน่อยครับการส่งผลของสารมันส่งยังไงอะไรส่งไปด้วยวิธีไหนครับจะทํารายงานครับขอบคุณครับ

โดย:  คับ  [12 ส.ค. 2552 18:05]
ข้อคิดเห็นที่ 85:155

แก้ไข ลิงค์ ใน  คำตอบที่  83  

แนะนำ  เว็บไซต์  เรื่อง  สารเคมีในชีวิตประจำวัน     ที่  เนื้อหาสาระดี  รูปแบบสวยงาม  วิธีการนำเสนอน่าสนใจ  สื่อสารได้ดี  ฯลฯ        

http://oldweb.pharm.su.ac.th/Chemistry-in-Life/room01.html        

จัดทำโดย    คณาจารย์ภาควิชาเภสัชเคมี  คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยศิลปากร

โดย:  นักเคมี  [28 ส.ค. 2552 23:47]
ข้อคิดเห็นที่ 86:156

ผมอยากรู้ว่าดีสุดๆ


โดย:  แม็ก max x  [31 ส.ค. 2552 08:58]
ข้อคิดเห็นที่ 87:157

ค รู สั่ ง อ่  ะ : )

โดย:  465  [2 ก.ย. 2552 20:44]
ข้อคิดเห็นที่ 88:158

ทำไมหสารปรุงเเต่งอาหารใม่พบล่ะค่ะ

โดย:  307  [11 ก.ย. 2552 13:20]
ข้อคิดเห็นที่ 89:159

วีตถุปรุงแต่งอาหารคืออะไร


โดย:  new  [22 ต.ค. 2552 15:40]
ข้อคิดเห็นที่ 90:164

ขอด่วน  สารปรุงแต่งอาหาร  ต้องรีบทำการบ้าน

โดย:  คนรักการบ้าน  [23 พ.ย. 2552 17:00]
ข้อคิดเห็นที่ 91:166

เราก้อจาทำรายงานวิทเหมือนกัน^O^
นี่คือข้อมูลที่เราเจอ ก้อเลยเอามาแบ่งปันกัล
แต่ว่า...กระทู้นี้มันมีมาตั้งแต่ปี49แร้วน้าส์=_=;
ป่านนี้คนตั้งกระทู้คงถูกตีตายไปแร้วม้างงง คิคิ
สารปรุงแต่งอาหาร  หมายถึง  สารปรุงรสและวัตถุเจือปนในอาหารที่นำมาใช้เพื่อปรุงแต่งสี  กลิ่น  รส และคุณสมบัติอื่น ๆ
  ของอาหาร  มีอยู่  3  ประเภท
            1. ประเภทที่ไม่เป็นอันตรายแก่ร่างกาย  ได้แก่
                   1.1 สีต่าง ๆ ที่ใช้ผสมอาหาร  ซึ่งเป็นสีธรรมชาติ  ได้แก่
                       สีเขียว  จากใบเตยหอม  พริกเขียว
                       สีเหลือง  จากขมิ้นอ้อย  ขมิ้นชัน  ลูกตาลยี  ไข่แดง  ฟักทอง  ดอกคำฝอย  เมล็ดคำแสด
                       สีแดง  จากดอกกระเจี๊ยบ  มะเขือเทศ   พริกแดง  ถั่วแดง  ครั่ง
                       สีน้ำเงิน  จากดอกอัญชัญ
                       สีดำ  จากกากมะพร้าวเผา  ถั่วดำ  ดอกดิน
                       สีน้ำตาล  จากน้ำตาลเคี่ยวไหม้  หรือคาราเมล
                    1.2 สารเคมีบางประเภท  ได้แก่
                       1.2.1 สารเคมีประเภทให้รสหวาน  เช่น  น้ำตาลทราย  กลูโคส  แบะแซ
                       1.2.2 สารเคมีบางประเภทให้รสเปรี้ยวในอาหาร  เช่น  กรดอะซีติก  (กรดน้ำส้ม)  กรดซิตริก  (กรดมะนาว)
                       1.2.3 สารเคมีที่เป็นสารแต่งกลิ่น  เช่น  น้ำนมแมว  หรือหัวน้ำหอมจากผลไม้ต่าง ๆ
           2. ประเภทที่อาจเกิดอันตรายหากใช้เกินขอบเขต
                     2.1 สีผสมอาหาร  ได้จากการสังเคราะห์สารเคมี  แม้กฏหมายกำหนดให้ใช้สีสังเคราะห์สำหรับผสมอาหารได้  แต่หากใช้ใน
  ปริมาณมากและบ่อยก็อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภคได้  ปริมาณสีที่อนุญาตให้ใช้ผสมในอาหารประเภทเครื่องดื่ม
  ไอศกรีม  ลูกกวาด  และขนมหวาน  มีดังนี้
                         2.1.1 สีที่ใช้ได้ปริมาณไม่เกิน  70  มิลลิกรัมต่ออาหารในลักษณะที่ใช้บริโภค  1  กิโลกรัม
                                สีแดง  ได้แก่  เอโซรูบีน  เออริโทรซิน
                                สีเหลือง  ได้แก่  ตาร์ตราซีน  ซันเซ็ตเย็ลโลว์  เอ็ฟ  ซี  เอ็ฟ
                                สีเขียว  ได้แก่  ฟาสต์  กรีน  เอ็ฟ  ซี  เอ็ฟ
                                สีน้ำเงิน  ได้แก่  อินดิโกคาร์มีนหรืออินดิโกติน
                          2.1.2  สีที่ใช้ได้ปริมาณไม่เกิน  50  มิลลิกรัมต่ออาหารในลักษณะที่ใช้บริโภค  1  กิโลกรัม
                                สีแดง  ได้แก่  ปองโซ  4  อาร์
                                สีน้ำเงิน  ได้แก่  บริลเลียนบลู  เอ็ฟ  ซี  เอ็ฟ
                      2.2 ผงชูรส  เป็นสารปรุงแต่งรสอาหาร  มีชื่อทางเคมีว่า โมโนโซเดียมกลูตาเมท  ผลิตจากแป้งมันสำปะหลัง  หรือ
 จากกากน้ำตาล  ลักษณะของผงชูรสแท้จะเป็นเกล็ดหรือผลึกสีขาวขุ่น  ปลายทั้ง  2  ข้างโตและมัน  ตรงกลางคอดเล็กคล้ายกระดูก
 ไม่มีความวาวแบบสะท้อนแสง  มีรสชาติคล้ายเนื้อต้ม  ปริมาณที่ใช้ควรเพียงเล็กน้อย ถ้าบริโภคมากเกินไปอาจมีอาการแพ้ผงชูรสได้
  ควรใช้ผงชูรสประมาณ  1/500-1/800   ส่วนของอาหารหรือประมาณ  1  ช้อนชาต่ออาหาร  10  ถ้วยตวง  และไม่ควรใช้ผงชูรส
  ในอาหารทารกและหญิงมีครรภ์
                      2.3 สารเคมีที่ใช้กันเสียกันบูด  เป็นสารประกอบทางเคมีหรือของผสมของสารประกอบที่ใช้เติมลงในอาหาร  เพื่อชะลอ
  การเน่าเสียหรือยืดอายุการเก็บอาหาร  โดยจะไปยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และส่วนประกอบของเอนไซม์  ซึ่งทำให้การเจริญ
  เติบโตของจุลินทรีย์หยุดชะงักหรือตายได้  นอกจากนี้ยังมีผลต่อการแบ่งเซลล์ยับยั้งการสังเคราะห์ของโปรตีน  ทำให้ขบวนการแบ่ง
  เซลล์หยุดชะงัก  จำนวนจุลินทรีย์จะไม่เพิ่มขึ้น  การใช้วัตถุกันเสีย ไม่จำเป็นก็ไม่ควรใช้  กรณีที่จำเป็นต้องใช้ควรเลือกวัตถุกันเสีย
  ที่ปลอดภัยและใช้ในปริมาณที่กฏหมายกำหนด  รวมทั้งต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับชนิดของอาหาร
            3. ประเภทเป็นพิษไม่ปลอดภัย  เป็นอันตรายต่อชีวิตได้
                  ปัจจุบันได้มีการใช้สารเคมีต่าง ๆ ปรุงแต่งอาหารเพื่อให้อาหารน่ารับประทานเก็บได้นานรวมทั้งราคาถูก  และจากการ
  ตรวจสอบของหน่วยงานของรัฐพบว่า  มีการใช้สารเคมีที่กฏหมายห้ามใช้ในการปรุงแต่งในอาหาร  ซึ่งทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้
  บริโภคถึงชีวิตได้
ตัวอย่างอันตรายจากสารเคมีที่ห้ามใช้ในการปรุงแต่งอาหาร
ชื่อสาร  จุดประสงค์ของการใช้ อันตรายที่ได้รับ
น้ำประสานทอง (บอแรกซ์ ผงกรอบ เม่งแซ เพ่งแซ) ทำลูกชิ้นให้กรอบ ทำให้แป้งมีลักษณะกรุบ (ในเต้าทึง)ทำหมูยอให้กรอบ ปนปลอมในผงชูรส (ซึ่งสังเกตลักษณะได้โดยเกล็ดคล้ายแผ่นเศษกระจก
อาจเป็น ก้อนเล็กสีขาว)  เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินอาหาร ระบบสมอง ซึ่งอาจทำให้มีอาการ คล้ายเยื่อหุ้มสมองอักเสบและที่รุนแรงมาก คือเป็นอันตรายต่อไตจะทำให้เกิดไตพิการและตายได้ถ้าได้รับ
สารนี้ ในปริมาณมากและเป็นเวลานาน

โซเดียมเบตา ฟอสเฟต  ปนปลอมในผงชูรสสังเกตลักษณะได้ โดยเกล็ดจะมีลักษณะหัวท้ายมน บางกว่า ใสเป็นมันคล้ายกระจก  ทำให้ท้องร่วง
สีย้อมผ้า  ผสมอาหารทำให้มีสีสวยงาม  โรคกระเพาะอาหารและลำใส้และเป็นสาเหตุการเกิด
โรคมะเร็ง เช่นมะเร็งตับ มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
กรดซาลิไซลิค สารกันบูด เป็นอันตรายต่อระบบทางเดินอาหารอย่างมาก โดยอาจทำให้เกิดแผลใน กระเพาะอาหาร เป็นพิษต่อระบบประสาทหรือมีอาการแพ้เป็นแผล ตามตัว
โซเดียมคาร์บอเนต(โซดาซักผ้า) ทำให้เนื้อนุ่ม  กัดเยื่อบุอ่อนของระบบทางเดินอาหาร เกิดอาการคลื่นใส้อาเจียน ท้องร่วงอาจรุนแรงถึงตายได้


   
  สารพิษในอาหาร
            สารพิษในอาหาร  แบ่งออกเป็น  3  ประเภท
             1. สารพิษที่มีอยู่ตามธรรมชาติ  ในส่วนประกอบของอาหารซึ่งจะพบอยู่ในพืชและสัตว์  สิ่งเหล่านี้จะมีโทษต่อมนุษย์ก็ด้วย
  ความไม่รู้  หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์  ไปเก็บเอาอาหารที่เป็นพิษมาบริโภค  เช่น  พิษจากเห็ดบางชนิด  ลูกเนียง  แมงดาทะเลเป็นพิษ
  สารพิษในหัวมันสำปะหลังดิบ  เป็นต้น
            2. สารพิษที่เกิดจากการปนเปื้อนในอาหารตามธรรมชาติ  ซึ่งแบ่งเป็น
                 2.1 สารพิษที่มาจากจุลินทรีย์ซึ่งมี   2  ประเภทใหญ่  คือ อันตรายที่เกิดจากตัวจุลินทรีย์และอันตรายที่เกิดจากสารพิษที่
  จุลินทรีย์สร้างขึ้น
                จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดพิษเนื่องจากตัวของมันเอง  มีอยู่  5  พวก  ได้แก่
                 1. แบคทีเรีย  เช่น Salmonella  Shigella  Vibrio
                 2. รา  เช่น  Aspergillus  Penicillin  fusarum  Rhizopus
                 3. โปรโตซัว  เช่น  Entamoeba histolytica
                 4. พาราสิต  เช่น  Trichinosis  Tapeworms
                 5. ไวรัส  เช่น   Poliovirus  Hepatitis  Virus
            จุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดพิษภัยอันเนื่องมาจากสารพิษที่สร้างขึ้นในขณะที่จุลินทรีย์นั้นเจริญเติบโตแล้วปล่อยทิ้งไว้ในอาหาร มีทั้ง
  สารพิษของแบคทีเรีย  และของเชื้อรา  สารพิษที่สำคัญที่พบ ได้แก่สารพิษที่เกิดจาก Clostridium botulinum  เป็นจุลินทรีย์ที่เป็น
  สาเหตุให้เกิดพิษในอาหารกระป๋องและสารพิษจากเชื้อรา  ที่เรียกว่า  Alflatoxin มักจะพบในพืชตะกูลถั่ว  โดยเฉพาะถั่วลิสงและ
  ผลิตภัณฑ์จากถั่วลิสง  ได้แก่  ถั่วกระจก  ขนมตุ๊บตั๊บ  น้ำมัน  ถั่วลิสง  เป็นต้น
            3. พิษที่เกิดจากสารเคมี  ซึ่งปะปนมากับอาหาร  ได้แก่  สารหนู  และโซเดียมฟลูออไรด์ ที่มีอยู่ในยาฆ่าแมลง  หรือยาฆ่า
  วัชพืชต่าง ๆ สำหรับยาฆ่าแมลงซึ่งใช้มากเกินไปหรือเก็บพืชผลเร็วกว่ากำหนดเมื่อกินผักผลไม้เข้าไปจะทำให้ร่างกายสะสมพิษ
  และเป็นสาเหตุทำให้เกิดมะเร็งได้  สำหรับพิษจากสารปลอมปนและสารปรุงแต่งอาหารได้กล่าวแล้ว          
 

ขอบคุณที่มาจาก http://edtech.kku.ac.th/~s49321275011/495050331-6/sc31-8-5.htm


โดย:  oบีกเกอร์o  [7 ธ.ค. 2552 19:50]
ข้อคิดเห็นที่ 92:169

ขอบ คุณคับที่บอก

โดย:  love 4  [19 ม.ค. 2553 22:40]
ข้อคิดเห็นที่ 93:229

ไม่รู้เหมือนกัน

โดย:  วรางคณา  [30 ก.ย. 2553 12:30]
ข้อคิดเห็นที่ 94:230

ช่วยบอกข้อมูลสารเติมแต่งทั้งหมดได้ไหมค่ะ

โดย:  คนหาคำตอบให้ตัวเองไม่ได้  [27 ต.ค. 2553 18:55]
ข้อคิดเห็นที่ 95:231

คัยก้อได้ช่วยบอกทีว่า โทษ ประโยชน์  ส่วนประกอบแล้วก้อวิธีใช้ของสารปรุงแต่งกลิ่น.........กรุณาบอกก่อนสัปดาห์หน้านะคร้า......เพราะจะส่งงานครู.................ช่วยบอกที...........เพราะมันหายากมากๆๆเลยอ่ะ- -"

โดย:  l๑กlluว6/5  [23 พ.ย. 2553 15:54]
ข้อคิดเห็นที่ 96:232

เราอยากรู้ชนิดของสารปรุงแต่งอาหารใครรู้ช่วยบอกที่น่ะค่ะ

โดย:  มา  [30 ม.ค. 2554 17:29]
ข้อคิดเห็นที่ 97:234

ม่รู้เรื่อง


โดย:  warasamon  [2 มิ.ย. 2554 16:53]
ข้อคิดเห็นที่ 98:235

เราก็หาไม่เจอ หู หน้า ดี/หี หน้า ดู
หู หน้า ดำ/หำ หน้า ดู

โดย:  555555555555555555555555555555+  [28 มิ.ย. 2554 10:55]
ข้อคิดเห็นที่ 99:236

อยากได้ข้อมูบเกี่ยวกับ สารปรุงแต่งรส  เช่น  น้ำปลา  ผงชูรส  น้ำส้มสายชู  เกลือ

แล้วจะหาหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้ที่ไหน



ตอบด้วยนะค๊าฟ

รีบมาก

โดย:  จิราพร  [24 ก.ค. 2554 13:43]
ข้อคิดเห็นที่ 100:237

น่าจะเพิ่มรายละเอียดให้มากกว่านี้หาข้อมูลไม่เจอเลยอ่ะ

โดย:  PUY  [27 ก.ค. 2554 10:45]
ข้อคิดเห็นที่ 101:238

หาไม่เจอเลยค่ะ คัยเจอบอกด้วยเน้อ

โดย:  เด็กเหนือ  [13 พ.ย. 2554 11:37]
ข้อคิดเห็นที่ 102:239

หาไม่เจอเลย แย่มาก

โดย:  6/1  [27 พ.ย. 2554 10:27]
ข้อคิดเห็นที่ 103:240

ดีมาก

โดย:  ต้น  [10 ม.ค. 2555 10:04]
ข้อคิดเห็นที่ 104:241

สารเน้คือรัยหลอ

โดย:  สาวน้อย  [27 ก.พ. 2555 11:44]
ข้อคิดเห็นที่ 105:242

คายรู้ช่วยบอกที

โดย:  สาวน้อย  [27 ก.พ. 2555 11:45]
ข้อคิดเห็นที่ 106:243

หนักเลย

โดย:  เด็ก วัด  [25 มิ.ย. 2555 14:54]
ข้อคิดเห็นที่ 107:244

ไม่รู้ไอไร
.........

โดย:  เบิร์ด คัยอีไซ มั่ง  [25 มิ.ย. 2555 14:56]
ข้อคิดเห็นที่ 108:258

มี4 ประเภทหลายชนิด1สารปรุงเเต่งรส
2สารปรุงเเต่งกลิ่น3สารปรุงเเต่งสี4สารป้องกันการเน่าเสีย

โดย:  บ้าน  [22 ก.ย. 2557 19:45]
ข้อคิดเห็นที่ 109:259

เรียนอยุ่ชั้นอะไร =ป.ฤม.อะไร

โดย:  บ้าน  [22 ก.ย. 2557 19:47]
ข้อคิดเห็นที่ 110:260

โรงเรียนอะไร

โดย:  บ้าน  [22 ก.ย. 2557 19:47]
หากท่านต้องการถามคำถามที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำถามนี้ กรุณากดปุ่มนี้

หากท่านต้องการแสดงข้อคิดเห็นหรือแสดงความคิดเห็นที่อยู่ในประเด็นเดียวกับหัวข้อนี้ ให้กรอกข้อมูล แล้วกดปุ่มส่งข้อความด้านล่างนี้