สนับสนุนโดย    
สนับสนุนโดย    
   
สนับสนุนโดย    
ถาม-ตอบ

น้ำเสียที่มีโลหะหนักที่ผ่านการบำบัดแล้ว เมื่อตั้งทิ้งไว้การตกตะกอนไม่ค่อยดี ตะกอนเล็กๆ และแยกชั้นใช้เวลานาน และน่าจะเป็นสาเหตุที่ทำการให้การกรองด้วย MF อุดตันเร็วสอบถามว่าควรเพิ่มสารเคมีตัวไหนดี ระหว่าง FeCl3  CaCl2 และ Na2S  เพื่อให้เกิดการตกตะกอนดี

น้ำเสียที่มีโลหะหนักที่ผ่านการบำบัดแล้ว เมื่อตั้งทิ้งไว้การตกตะกอนไม่ค่อยดี ตะกอนเล็กๆ และแยกชั้นใช้เวลานาน และน่าจะเป็นสาเหตุที่ทำการให้การกรองด้วย MF  ( micro  filter ) อุดตันเร็วสอบถามว่าควรเพิ่มสารเคมีตัวไหนดี ระหว่าง FeCl3  CaCl2 และ Na2S  เพื่อให้เกิดการตกตะกอนดี

โดย:  CARBON   [18 ต.ค. 2556 05:20]
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก:  เมนูนานาสาระ และหมวด การวิเคราะห์ ทดสอบ  /  น้ำเสีย
ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ
ข้อคิดเห็นที่ 1:1

เรียน คุณ CARBON,

ถ้าท่านยังไม่ได้รับคำตอบจากผู้เชี่ยวชาญใดๆ ผมขอเสนอให้ท่านลองทำ internal experiment เองซะเลยสิครับ ทดสอบมันทั้ง3ตัวเลยนั่นแหละ ทำการปรับเปลี่ยนตัวแปรตามที่ท่านเห็นเหมาะสม และเก็บข้อมูลการทดลองของท่านไว้ ซึ่งท่านก็จะได้คำตอบที่ดีที่สุด ด้วยตัวท่านเองเลยนะครับ

ขอให้โชคดีครับ
Prasit

โดย:  Prasit  [28 พ.ย. 2556 22:35]
ข้อคิดเห็นที่ 2:2

ขบวนการที่ทางโรงงานใช้อยู่ ใช้ CaCl2 ก่อนเข้า MF ปรากฎว่าใช้ได้ผลดี

ปล. ไม่ทราบข้อมูลนี้ยังจะทันเวลาหรือเปล่า เพราะเพิ่งมาเห็นครับ

โดย:  ukrit  [25 ม.ค. 2557 09:59]
ข้อคิดเห็นที่ 3:3

น้ำเสียที่มีโลหะหนักที่ผ่านการบำบัดแล้ว เมื่อตั้งทิ้งไว้การตกตะกอนไม่ค่อยดี ตะกอนเล็กๆ และแยกชั้นใช้เวลานาน และน่าจะเป็นสาเหตุที่ทำการให้การกรองด้วย MF  ( micro  filter ) อุดตันเร็วสอบถามว่าควรเพิ่มสารเคมีตัวไหนดี ระหว่าง FeCl3  CaCl2 และ Na2S

สวัสดีค่ะ

จากความคิดเห็นด้านบนน่าจะเกิดจากการตกตะกอนไม่สมบูรณ์เนื่องจากตะกอนมีขนาดเล็กและไม่จับตัวกันทำให้ตะกอนมีน้ำหนักเบา จากประสบการณ์ที่ทำงานน่าจะเกิดจากการเติมปูนขาว (Ca(OH)2) น้อยเกินไปค่ะ แต่ในกรณีนี้ใช้เมื่อมีการเช็คโลหะหนักว่าหมดแล้วจริงๆ นะคะ ถ้าเช็คโลหะหนักในน้ำที่ผ่านการบำบัดแล้วพบว่ายังมีปริมาณของโลหะหนักอยู่ต้องใส่เฟอริคคลอไรด์ (FeCl2) เพิ่มอีกค่ะหลังจากนั้นค่อยเติมปูนขาวนะคะ

โดย:  C Gikkok  [17 ก.พ. 2557 16:33]
ข้อคิดเห็นที่ 4:4


เครื่องจ่ายสารเคมี ในการ ปรับคุณภาพน้ำ‪ #‎ปรับสภาพน้ำ‬  #‎ในระบบบำบัดน้ำ‬ บำบัดน้ำดี บำบัดน้ำเสีย

บริษัท เอส ไรคส์ จำกัด เป็นตัวแทนจำหน่าย ปั๊มจ่ายสารเคมี #‎Metering‬  ‪#‎pump‬  #‎ปั๊มเคมี‬ ‎ #‎ปั๊มทนกรด‬  ‪#‎ปั๊มทนด่าง ยี่ห้อ #‎EMEC‬ จากประเทศอิตาลี ‪#‎ปั๊มเติมคลอรีน  #‎เครื่องเติมกรด  ‪#‎เครื่องสูบเคมี‬ ‬‬เครื่องเติมคลอรีนบำบัดน้ำ  #‎อะไหล่ปั๊ม‬  #‎เครื่องควบคุมค่าpH‬ เครื่องจ่ายสารละลายคลอรีน สารส้ม ปูนขาว โซดาไฟ  #‎โพลิเมอร์‬ กรดเกลือ สารเคมี อื่นๆ  ใช้ในกระบวนการ  ‪#‎ปรับสภาพน้ำ‬ ปรับปรุงคุณภาพน้ำ ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ  #‎ในระบบบำบัดน้ำ‬ บำบัดน้ำเสีย บำบัดน้ำดี ล้างCooling Tower ทำความสะอาด C.I.P. เหมาะสำหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม และอุสาหกรรมอื่นๆทั่วไป เพื่อใช้ในกระบวนการผลิต เช่น ‪ #‎น้ำล้างวัตถุดิบ‬  ‪#‎ล้างผัก‬  ‪#‎ล้างผลไม้‬ ‪ #‎ล้างชิ้นเนื้อ‬  ‪#‎ล้างกุ้ง  ‬‪#‎ล้างปลา‬  #ล้างบรรจุภัณฑ์ ‪ #‎ล้างขวด‬ เป็นต้น น้ำที่ใช้ล้างควรมีการบำบัด #ฆ่าเชื้อโรคในน้ำ ก่อนที่จะนำมาใช้ ‪#‎วิธีการบำบัดน้ำ‬ มีหลายหลายวิธี แต่ที่นิยมใช้ในบ้านเราที่สุด คือ ‪#‎การเติมสารละลาย‬ ‪#‎เติมคลอรีน‬ ‪#‎เติมกรดเกลือHCL‬ ‪#‎เติมแพค‬ ‪#‎เติมปูนขาว‬ เพื่อ ‪#‎ปรับสภาพน้ำก่อนใช้‬

- ปั๊มจ่ายคลอรีนสำหรับฆ่าเชื้อโรคในงานบ่อบำบัดน้ำเสีย  Water treatment System
- ‪#ปั๊มเติมคลอรีน‎เพื่อปรับสภาพน้ำก่อนใช้ ‬Drinking Water
- ปั๊มจ่ายเคมีเพื่อป้องกันตะกรัน  Chemical Feed
- เครื่องมือวัดค่าคลอรีนในระบบน้ำเสีย  Controller
- เครื่องวัดค่า Conductivity ใน Cooling Tower

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ คุณชนะชัย (ฝ่ายการตลาด) 0917741197,022618818  chja@sreichcompany.com  หรือ www.sreichcompany.com



โดย:  คุณชนะชัย (ฝ่ายการตลาด)  [21 มิ.ย. 2559 09:49]
หากท่านต้องการถามคำถามที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำถามนี้ กรุณากดปุ่มนี้

หากท่านต้องการแสดงข้อคิดเห็นหรือแสดงความคิดเห็นที่อยู่ในประเด็นเดียวกับหัวข้อนี้ ให้กรอกข้อมูล แล้วกดปุ่มส่งข้อความด้านล่างนี้