สนับสนุนโดย    
สนับสนุนโดย    
   
สนับสนุนโดย    
ข้อมูลสารเคมี

Pentadecafluorooctanoic acid

CAS Number:  335-67-1

EC Number: 206-397-9

    -
เลขอ้างอิงตามระบบองค์การสหประชาชาติ
UN Number: 3261 (CORROSIVE SOLID, ACIDIC, ORGANIC, N.O.S.)
UN Class:  8  (สารกัดกร่อน)
UN Sub-Class:  -
UN Guide:  154  (สาร - เป็นพิษ และ/หรือกัดกร่อน (ไม่ติดไฟ))
คำแนะนำความปลอดภัย (SG)
International Chemical Safety Cards (ICSC)
ประเภทสารเคมีเพื่อการเก็บรักษาที่เข้าข่าย
Storage Class 3A: ของเหลวไวไฟ
เงื่อนไข: มีจุดวาบไฟ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 60 °C
Storage Class 8A: สารติดไฟที่มีคุณสมบัติกัดกร่อน
เงื่อนไข: ติดไฟได้ (คือมีจุดวาบไฟอยู่ในช่วง 60-93 °C หรือมีจุดวาบไฟ > 93 °C และผสมเข้ากับน้ำไม่ได้)
Storage Class 8B: สารไม่ติดไฟที่มีคุณสมบัติกัดกร่อน
เงื่อนไข: ไม่ติดไฟ
ข้อมูลจากฐานข้อมูลโรคที่เกิดจากการทำงานและสารเคมี
ค่าขีดจำกัดความเข้มข้นสารเคมี
Perfluorooctanoic acid
CAS No.: 335-67-1
สหรัฐอเมริกา
US OSHA: -
California OSHA: -
NIOSH: -
ACGIH: -
ญี่ปุ่น
JSOH OEL: 8-hour TWA: 0.005 mg/m3
ออสเตรเลีย
AUS Exposure Std.: -
ไทย
Thai PEL: -
ข้อมูลนี้จัดทำและเผยแพร่วันที่ 8 มิถุนายน 2563 โดยเป็นข้อมูลล่าสุด ณ เวลาดังนี้
สหรัฐอเมริกา : US OSHA ณ ปี 2017, California OSHA ณ 4/4/2018, NIOSH ณ 7/7/2016, ACGIH ณ ปี 2018
ญี่ปุ่น: ณ 2018-2019, ออสเตรเลีย: ณ 16/12/2019, ไทย: ณ สิงหาคม 2560
ค่าบ่งชี้ทางชีวภาพ (BEI)
ข้อมูลความเป็นอันตรายตามระบบ GHS (อ้างอิงจาก Annex VI of CLP Regulation)
   perfluorooctanoic acid
คำสัญญาณ
(Signal Word)
อันตราย (Danger)
รูปสัญลักษณ์
(Pictogram)
รหัสข้อความแสดงความเป็นอันตราย
(Hazard-statement Code)
ข้อความแสดงความเป็นอันตราย
(Hazard Statement)
H302
เป็นอันตราย เมื่อกลืนกินเข้าไป (Harmful if swallowed)
H332
เป็นอันตรายเมื่อหายใจเข้าไป (Harmful if inhaled)
H318
ทำลายดวงตาอย่างรุนแรง (Cause serious eye damage)
H351
มีข้อสงสัยว่าอาจก่อให้เกิดมะเร็ง (Suspected of causing cancer)
H360D
อาจเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์ (May damage the unborn child)
H362
อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็กที่ได้รับการเลี้ยงด้วยน้ำนมมารดา (May cause harm to breast-fed children)
H372
ทำอันตรายต่ออวัยวะ เมื่อรับสัมผัสเป็นเวลานาน หรือรับสัมผัสซ้ำ (Causes damage to organs through prolonged or repeated exposure)
(ตับ / liver)
ความเป็นอันตรายทางกายภาพ  (Physical Hazard)
ไม่มีการจำแนกความเป็นอันตรายทางกายภาพ  (Physical Hazard)
ความเป็นอันตรายทางสุขภาพ  (Health Hazard)
ประเภทความเป็นอันตราย
(Hazard Class and category)
คำอธิบาย
(Decription)
รูปสัญลักษณ์
(Pictogram)
รหัสและข้อความแสดงความเป็นอันตราย
(Hazard-statement Code and Statement)
Acute Tox. 4 ความเป็นพิษเฉียบพลัน ประเภทย่อย 4
(Acute toxicity Category 4)
H302 เป็นอันตราย เมื่อกลืนกินเข้าไป
(Harmful if swallowed)
Acute Tox. 4 ความเป็นพิษเฉียบพลัน ประเภทย่อย 4
(Acute toxicity Category 4)
H332 เป็นอันตรายเมื่อหายใจเข้าไป
(Harmful if inhaled)
Carc. 2 การก่อมะเร็ง ประเภทย่อย 2
(Carcinogenicity Category 2)
H351 มีข้อสงสัยว่าอาจก่อให้เกิดมะเร็ง
(Suspected of causing cancer)
Eye Dam. 1 การทำลายดวงตาอย่างรุนแรงและการระคายเคืองต่อดวงตา ประเภทย่อย 1
(Serious eye damage/eye irritation Category 1)
H318 ทำลายดวงตาอย่างรุนแรง
(Cause serious eye damage)
Lact. ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ มีผลกระทบต่อหรือผ่านน้ำนมแม่
(Reproductive toxicity Additional category for effects on or via lactation)
-
H362 อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็กที่ได้รับการเลี้ยงด้วยน้ำนมมารดา
(May cause harm to breast-fed children)
Repr. 1B ความเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ ประเภทย่อย 1B
(Reproductive toxicity Category 1B)
H360D อาจเกิดอันตรายต่อทารกในครรภ์
(May damage the unborn child)
STOT RE 1 ความเป็นพิษต่ออวัยวะเป้าหมายอย่างเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสซ้ำ ประเภทย่อย 1
(Specific target organ toxicity - repeated exposure Category 1)
H372 ทำอันตรายต่ออวัยวะ เมื่อรับสัมผัสเป็นเวลานาน หรือรับสัมผัสซ้ำ
(Causes damage to organs through prolonged or repeated exposure)
(ตับ / liver)
ความเป็นอันตรายทางสิ่งแวดล้อม  (Environmental Hazard)
ไม่มีการจำแนกความเป็นอันตรายทางสิ่งแวดล้อม  (Environmental Hazard)
อ้างอิงจาก Annex VI of Regulation (EC) No. 1272/2008 (CLP Regulation) อัพเดทถึง The 18th Adaptation to Technical Progress (ATP)
เพื่อใช้ประโยชน์โดยทั่วไป ผู้จัดทำไม่รับผิดชอบต่อผลของการนำไปใช้ทางกฎหมายใดๆ
กฎหมายไทย
กฎหมาย บัญชี / กลุ่ม ชนิด / ประเภท ชื่อสารตามประกาศ เงื่อนไข / รายละเอียด
 วัตถุอันตราย 5.1 3 กรดเปอร์ฟลูออโรออกตะโนอิค (perfluorooctanoic acid) เฉพาะที่นำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
1. ใช้ในการเคลือบป้องกันการสะท้อนแสงในกระบวนการ photolithography และกระบวนการเอชชิ่ง (etch processes) ในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์
2. ใช้ในการเคลือบภาพถ่ายที่ใช้กับฟิล์ม
3. ใช้ในสิ่งทอสำหรับป้องกันการเปียกและซึมของน้ำและน้ำมัน เพื่อป้องกันอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานจากของเหลวที่เป็นอันตรายและมีความเสี่ยงต่อสุขภาพ เพื่อความปลอดภัยในการทำงาน
4. ใช้ในโฟมดับเพลิงสำหรับดับไอน้ำมันเชื้อเพลิงเหลวและเพลิงไหม้เชื้อเพลิงเหลว (Class B fires) ที่มีระบบที่ติดตั้งอยู่แล้ว รวมทั้งแบบเคลื่อนที่และแบบติดยึด
5. ใช้ในการผลิต polytetrafluoroethylene (PTFE)และ polyvinylidene fluoride (PVDF) สำหรับการผลิตอุปกรณ์ที่นำความร้อนเหลือทิ้งจาก
อุตสาหกรรมกลับมาใช้ประโยชน์ หรือน้ ายาเคลือบส าหรับป้องกันการรั่วไหลของสารอินทรีย์ระเหยและฝุ่นละออง PM2.5
6. ใช้ในการผลิต polyfluoroethylene propylene (FEP) สำหรับการผลิตสายไฟฟ้าแรงสูง และสายเคเบิลสำหรับส่งกระแสไฟฟ้า
7. ใช้ในการผลิต fluoroelastomers สำหรับการผลิตโอริง (O-rings) สายพานวี (v-belts) และชิ้นส่วนพลาสติกสำหรับตกแต่งภายในรถยนต์
5.1 4 กรดเปอร์ฟลูออโรออกตะโนอิค (perfluorooctanoic acid ) เฉพาะที่ไม่เข้าเงื่อนไขการเป็นวัตถุอันตรายชนิดที่ 3 ลำดับที่ 526-530 โดยให้ได้รับการยกเว้นสำหรับที่เป็นสารปนเปื้อน (Impurity) ดังนี้
1. ความเข้มข้นไม่เกินร้อยละ 0.0000025 โดยน้ำหนัก (≤ 0.0000025% w/w) หรือ
2. มีอยู่ในผงไมโครพอลิเตตราฟลูออโรเอทิลีน (PTFE) ที่ผลิตขึ้น โดยการฉายรังสีไอออไนซ์หรือโดยการย่อยสลายด้วยความร้อน ความเข้มข้นไม่เกินร้อยละ 0.0001 โดยน้ าหนัก (≤ 0.0001% w/w)
 ยุทธภัณฑ์        
 สารอันตราย (แรงงาน)        
 ความเข้มข้นสารอันตราย (แรงงาน)        
 ยาเสพติด        
 วัตถุออกฤทธิ์        
กฎหมาย / ระเบียบ / ข้อกำหนด ระดับสากล
Montreal
PICs
POPs
Basel
  • Montreal Protocol - สารทำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศ ตามข้อตกลงในพีธีสารมอนทรีออล
    [เอกสาร]  [รายละเอียดเพิ่มเติม]
  • PICs Convention หรือ Rotterdam Convention - สารเคมีและสูตรผสมอันตรายต้องห้ามหรือจำกัดการใช้อย่างเข้มงวด ตามข้อตกลงในอนุสัญญารอตเตอร์ดัม ว่าด้วยการยินยอมเมื่อได้รับแจ้งล่วงหน้า
    [เอกสาร]  [รายละเอียดเพิ่มเติม]
  • POPs : Stockholm Convention on Persistent Organic Pollutant - สารมลพิษตกค้างยาวนาน ตามข้อตกลงในอนุสัญญาสตอกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษตกค้างยาวนาน
    [เอกสาร] [รายละเอียดเพิ่มเติม]
  • Basel Convention on the Control of Transboundary Movements of Hazardous Wastes and their Disposal - ของเสียอันตราย ตามอนุสัญญาบาเซลว่าด้วยการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้ามแดนของของเสียอันตรายและการกำจัด
    [เอกสาร] [รายละเอียดเพิ่มเติม]
Annex VI
CMR
Carcinogen (C)
Mutagen (M)
Toxic to Reproduction (R)
  • Annex VI - รายการสารเคมีอันตรายที่กำหนดโดยกฎหมายสหภาพยุโรว่าด้วยการจำแนกประเภท ติดฉลาก และบรรจุภัณฑ์ของสารเคมีและเคมีภัณฑ์ ( European Regulation (EC) No 1272/2008 on Classification, Labelling and Packaging of Substances and Mixtures, CLP Regulation)
    [รายละเอียดและค้นหารายการสารเคมี]
  • CMR - สารที่ระบุใน Annex VI ของกฎหมาย CLP ว่าเป็นสารก่อมะเร็ง (Carcinogen) ก่อการกลายพันธุ์ (Mutagen) และเป็นพิษต่อระบบสืบพันธุ์ (Toxic to Reproduction)
    [รายละเอียดและค้นหารายการสารเคมี]
Candidate list
Annex XIV
Annex XVII
  • Candidate list - สารเคมีอันตราย ที่กำหนดให้มีในผลิตภัณฑ์ได้ไม่เกิน 0.1% โดยน้ำหนัก หรือต้องจดแจ้งหากมีในผลิตภัณฑ์เกิน 0.1% โดยน้ำหนัก ตามกฎหมาย REACH ของสหภาพยุโรป และเป็นสารเคมีอันตรายที่เข้าข่ายไม่อนุญาตให้ใช้หรือวางจำหน่ายในสหภาพยุโรปในอนาคต
    [ดูรายการสารเคมี]
  • Annex XIV - สารเคมีอันตรายที่ไม่อนุญาตให้วางจำหน่ายหรือใช้ในสภาพยุโรปก่อนได้รับอนุญาต รายการสารเคมีทั้งหมดระบุอยู่ ใน Annex XIV ของกฎหมาย REACH
    [รายละเอียดเพิ่มเติม] [ดูรายการสารเคมี]
  • Annex XVII - สารเคมีอันตรายที่จำกัดให้ใช้และวางจำหน่ายตามเงื่อนไขกำหนดใน Annex XVII ของกฎหมาย REACH
    [รายละเอียดเพิ่มเติม] [ดูรายการสารเคมี]
ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสารนี้
จากข้อมูล กรมวิชาการเกษตร: ไม่พบข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสารนี้
จากข้อมูล วัตถุอันตรายของ อย.: งดสืบค้นจากฐานข้อมูล อย. ชั่วคราว