N-(PHOSPHONOMETHYL)GLYCINE, MONOISOPROPY L-AMINE SALT, 40 WT. % SOLUTION IN WATER
ชื่อพ้อง:
  Synonyms * Glyphosphate, isopropylamine salt, 40 wt% aqueous solution
หมายเลข CAS : 38641-94-0
อันตราย (ตามระบบ UN)
อุปกรณ์ป้องกัน/ข้อควรปฏิบัติทั่วไป
ระดับอันตรายของ HMIS
     สุขภาพ:  2
     ความไวไฟ:  0
     ความไวต่อปฏิกิริยา:  0
ระดับอันตรายของ NFPA
     สุขภาพ:  2
     ความไวไฟ:  0
     ความไวต่อปฏิกิริยา:  0  สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเป็นพิษ, ดูหัวข้อ 11.
ข้อมูลสำหรับสภาวะฉุกเฉิน
     สารที่ทำให้ระคายเคือง.  ระคายเคืองต่อตา.
การควบคุมเชิงวิศวกรรม
     ต้องมีเครื่องระบายอากาศ.  ฝักบัวนิรภัยและอ่างล้างตา.
สุขลักษณะทั่วไป
     ล้างให้สะอาดหลังการสัมผัส.
เครื่องป้องกันส่วนบุคคล
     ทางการหายใจ:  เครื่องช่วยหายใจที่ผ่านการรับรองโดยรัฐ
     มือ:  ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี.
     ตา:  แว่นตาแบบก๊อกเกิลส์ที่ป้องกันสารเคมี.
ข้อปฏิบัติการใช้สาร
     ข้อปฏิบัติขณะใช้สาร:  อย่าหายใจเอาไอระเหยเข้าไป.  หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดวงตา, ผิวหนัง และเสื้อผ้า.  หลีกเลี่ยงการได้รับสารเป็นเวลานานหรือซ้ำหลายครั้ง.
การเก็บรักษา
     เหมาะสม:  ปิดให้สนิท.  ห้ามแช่แข็ง.  เก็บในที่แห้งและเย็น.

ข้อปฏิบัติกรณีหกรั่วไหลหรือเกิดเพลิงไหม้

การปฐมพยาบาล

วิธีป้องกันภัยของบุคคล
     สวมอุปกรณ์ช่วยหายใจ, แว่นตานิรภัย, รองท้าบูทยาง และถุงมือยางแบบหนา.
วิธีการทำความสะอาดหลังการปนเปื้อน หรือรั่วไหล
     ให้ดูดซึมบนทรายหรือเวอร์มิคูไลต์และบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทสำหรับนำไปกำจัด.  ระบายอากาศในบริเวณนั้น และล้างตำแหน่งที่สารหกรั่วไหลหลังจากเก็บสารออกหมดแล้ว.
ข้อควรระวังเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม
     หลีกเลี่ยงการปนเปื้อนสู่ระบบประปา.  อย่าปล่อยให้สารเข้าสู่ระบบระบายหรือระบบน้ำ.
อุปกรณ์ผจญเพลิง
     เหมาะสม:  ละอองน้ำ.  Carbon dioxide, ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม.
จุดวาบไฟ
     ไม่มีข้อมูล
อุณหภูมิที่ติดไฟได้เอง
     ไม่มีข้อมูล
ความไวไฟ
     ไม่มีข้อมูล
การผจญเพลิง
     อุปกรณ์ป้องกัน:  สวมเครื่องช่วยการหายใจแบบครบชุดและเสื้อผ้าที่ใช้ป้องกัน เพื่อป้องกันการสัมผัสกับผิวหนังและดวงตา.
     อันตรายเฉพาะเรื่อง:  ปล่อยควันพิษออกมาภายใต้สภาวะที่เกิดไฟ.
กรณีที่ได้รับสารทางปาก
     เมื่อกลืนกิน, ให้ใช้น้ำบ้วนปากในกรณีที่ผู้ป่วยที่ยังมีสติอยู่.  ไปพบแพทย์.
กรณีที่ได้รับสารโดยทางสูดดม
     ถ้าสูดดมเข้าไป, ให้ย้ายผู้ป่วยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์.  ถ้าไม่หายใจ ให้การช่วยหายใจ.  ถ้าหายใจลำบาก, ให้ออกซิเจน.
กรณีที่ได้รับสารทางผิวหนัง
     ในกรณีที่สัมผัสกับสาร, ให้ล้างผิวหนังทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก.
กรณีที่ได้รับสารทางตา
     ในกรณีที่สัมผัสกับสาร, ให้ล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที.
ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ หรือเมื่อรู้สึกไม่สบาย ให้ปรึกษาแพทย์โดยด่วน
(ถ้าเป็นไปได้ให้แสดงฉลากของสารด้วย)
Reference: Sigma-Aldrich, Catalog #338109

โปรดใช้วิจารณญาณของท่านในการนำข้อมูลไปใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของตน
เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผู้แปลมิอาจรับผิดชอบได้

ลิขสิทธิ์คำแปลภาษาไทย ของจุฬาสงกรณ์มหาวิทยาลัย