สนับสนุนโดย
สกว.
HSM
ผังเว็บไซต์
|
ผู้จัดทำ
หน้าแรก
ค้นหา
ข้อมูลทั้งหมดใน chemtrack
สารเคมี / ผลิตภัณฑ์ / SDS / REACH
ข่าว / บทความ / ถาม-ตอบ
นานาสาระ
บอกข่าว เล่าความ
สารเคมีที่เป็นข่าวระดับโลก
เรียนรู้จากข่าว
เคมีทรรศนะเชิงนโยบาย
สาระเคมีภัณฑ์
พิษภัยใกล้ตัว
นาโนเทคโนโลยี และความปลอดภัย
QSAR
สารเคมีในอุตสาหกรรม
กฎหมาย
บัญชีวัตถุอันตราย
ยาเสพติด
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ยุทธภัณฑ์
สารอันตราย (แรงงาน)
ขีดจำกัดความเข้มข้นของสารอันตราย (แรงงาน)
PICs (อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ)
POPs (อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ)
Basel (อนุสัญญาบาเซล)
Montreal (พิธีสารมอนทรีออล)
ระเบียบ REACH
แผน / นโยบายด้านการจัดการสารเคมี
เอกสารเผยแพร่
เอกสารทั่วไป
เอกสารการประชุมสัมมนา
จดหมายข่าว
ข้อมูลสถิติ
สถิตินำเข้าเคมีภัณฑ์อันตราย
สถิตินำเข้าสารกลุ่มที่น่าสนใจ
สถิตินำเข้าสารเคมีควบคุมตามข้อตกลงสากล
สถิตินำเข้าของเสียควบคุมตามอนุสัญญาบาเซล
สถิติอุบัติภัยวัตถุเคมี
แผนที่แสดงการกระจายสารเคมีในประเทศไทย
GHS-SDS
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
GHS
SDS
ศัพท์น่ารู้
ชนิดวัตถุอันตราย
REACH คืออะไร
CAS Number
EC Number
พิกัดอัตราศุลกากร
UN Class
UN Number
UN Guide
SDS & MSDS
GHS
QSARs
คำย่อเกี่ยวกับค่าเฝ้าระวังในการสัมผัสสาร
ถาม-ตอบ
กระดานถาม-ตอบ
คำถามที่พบบ่อย
บริการ
จัดทำ SDS
รายการอบรมและสัมมนา
In-house Training Courses
สิ่งพิมพ์จัดจำหน่าย
ทำความรู้จัก Guide Number
2008 EMERGENCY RESPONSE GUIDEBOOK
เป็นเลข 3 หลัก ที่ระบุข้อปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินกับสารอันตรายชนิดนั้น ตามที่กำหนดโดย 2000 Emergency Response Guidebook, US. Department of Transport, Research and Special Programs Administration
Guide-Number แต่ละหมายเลขจะระบุประเภทสาร และอันตราย พร้อมทั้งหัวข้อต่าง ๆ คือ
+ อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได้
- ต่อสุขภาพ
- เมื่อไฟไหม้หรือระเบิด
+ ความปลอดภัยในที่สาธารณะเกี่ยวกับ
- โทรศัพท์เรียกทีมฉุกเฉิน
- ชุดป้องกัน
- การอพยพเมื่อมีการหกหรือไฟไหม้
+ การระงับอุบัติภัยกรณีต่าง ๆ
- ไฟไหม้เล็กน้อย
- ไฟไหม้ขนาดใหญ่
- ไฟไหม้ถัง หรือรถ/รถพ่วง
- เมื่อมีการหกรั่วไหล
- การปฐมพยาบาล
ข้อมูลใน Guide-Number เป็นประโยชน์กับผู้เกี่ยวข้องที่ใช้สารอันตราย แต่ผู้ที่จะใช้ข้อมูลสำหรับการแก้ไขสถานการณ์เมื่อเกิดอุบัติภัยขึ้นจริงนั้น ต้องเป็นผู้ที่ได้รับการฝึกมาแล้วเป็นอย่างดี มิฉะนั้นอาจตัดสินใจแก้ปัญหาด้วยวิธีที่ไม่ถูกต้อง และก่อให้เกิดปัญหาต่อเนื่องเพิ่มขึ้นอีกได้
ตัวอย่าง Guide-Number และการระงับอุบัติภัยกรณีไฟไหม้เล็กน้อยของสารที่มี UN Number ต่าง ๆ
ชื่อสาร
UN Number
Guide Number
ประเภทสาร
การระงับอุบัติภัย
(กรณีไฟไหม้เล็กน้อย)
Acrylonitrile
1093
131P
ของเหลวไวไฟ-เป็นพิษ
อาจโพลีเมอไรซ์รุนแรงเมื่อถูก
ความร้อน หรือเมื่อมีไฟไหม้
- ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ฉีดน้ำเป็นฝอย หรือโฟมทนแอลกอฮอล์
Chlorine
1017
124
ก๊าซ-เป็นพิษ และ/หรือ กัดกร่อน-ออกซิไดซ์
- ใช้น้ำเท่านั้น
- ไม่ใช้ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ หรือฮาลอน
Phosphorus Pentachloride
1310
139
สาร-ทำปฏิกิริยากับน้ำ (ปล่อยก๊าซไวไฟ และก๊าซพิษ)
- ผงเคมีแห้ง โซดาแอช ปูนขาว หรือโฟม
- ห้ามใช้น้ำหรือโฟม
Parathion
2783
152
สาร-เป็นพิษ (ติดไฟ)
- ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ฉีดน้ำเป็นฝอย
Organic phosphate (dry solid)
2783
152
สาร-เป็นพิษ (ติดไฟ)
- ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ฉีดน้ำเป็นฝอย
Trichlofon
2783
152
สาร-เป็นพิษ (ติดไฟ)
- ผงเคมีแห้ง คาร์บอนไดออกไซด์ ฉีดน้ำเป็นฝอย
© สงวนลิขสิทธิ์
หากมีข้อสงสัย หรือคำแนะนำ โปรดแจ้งมาที่
chemtrack@gmail.com
จำนวนผู้เข้าชม
46748847
ตั้งแต่ 17 กรกฎาคม 2546