|
ข้อคิดเห็นที่
1:![]() ทำ Jar Test บ่อยๆ หรือ ทุก แบทช์ และ นำผลที่ได้ มาคำนวณ เพื่อ ปรับตั้ง เครื่องจ่าย ( ต้อง คำนวณ ได้ด้วยตนเอง ค่าอัตราส่วน ที่มีผู้แนะนำ หรือ คำนวณให้ ไม่สามารถ ใช้ได้ กับ น้ำดิบ ทุกสภาพ ) โดย: นักเคมี [22 มี.ค. 2552 08:55] |
ข้อคิดเห็นที่
2:![]() http://en.wikipedia.org/wiki/Aluminium_chlorohydrate Aluminium chlorohydrate ( Polyaluminium chloride ) โดย: นักเคมี [22 มี.ค. 2552 10:39] |
ข้อคิดเห็นที่
3:![]() ถ้าเคยใช้สารสัม สัดส่วนจะประมาณ 50%หรือครึ่งหนึ่งของสารส้มการวัดผลจะไม่ชัดถ้าน้ำที่จะทำ treatment ไหลวนเร็ว แต่ถ้าทำ Jar Test จะแน่นอนกว่าเพราะน้ำแต่ละสภาพไม่หมือนกัน ข้อดีเมื่อเทียบกับสารส้ม : กว้างกว่า ไม่ต้องใช้ปูนขาวช่วยหรือใช้น้อย ค่าความเป็นกรดของน้ำหลัง treat จะน้อยกว่า โดย: ผู้เคยใช้ [5 เม.ย. 2552 02:21] |
ข้อคิดเห็นที่
4:![]() อยากทราบสูตรในการคำนวนการใช้สาร pac ในการทำจาร์เทสของน้ำประปาหน่อยค่ะ ใครมีช่วยตอบด้วย โดย: คนโง่ [19 พ.ย. 2555 15:49] |
ข้อคิดเห็นที่
5:![]() ขอทราบอยากทราบอัตราส่วนการใช้ PAC ในการผสมว่ามีการlส่วนผสมระหว่างน้ำเท่าไรและส่วนของ PACเท่าไร อัตราการปรับเครื่องจ่ายสาร ของปั้มจ่ายสารจำนวนกี่ % ระบบประปาของผมที่ มีกำลังผลิต 20 ลบม./ชม. , 10 ลบม./ชม. และ 5 ลบม./ชม. กรณีน้ำดิบที่ใช้ผลิตประปาขุ่นมาก และปานกลาง และข่นน้อบ โดย: yai [6 ส.ค. 2557 09:03] |
ข้อคิดเห็นที่
6:![]() ขอข้อมูลอย่างละเอียด เพื่อประกอบการทำงาน โดย: อธิป อุ่นบุรมย์ [25 เม.ย. 2563 13:31] |
ข้อคิดเห็นที่
7:![]() รบกวนสอบถามค่ะ เนื่องจากน้ำในพื้นที่ของเทศบาล สีของน้ำมีสีแดงออกชมพู ซึ่งน้ำดังกล่าวจะมาจากบ้านเรือน มีวิธีการแก้ไขหรือมีสารเคมีใดที่ช่วยกำจัดสีดังกล่าว หรือไม่ค่ะ โดย: สุพัตรา เสถียรอุดมการณ์ [5 ม.ค. 2564 15:04] |
ข้อคิดเห็นที่
8:![]() ปะปา20คิว/ชม.สูบนำ้ดิบขึ้นมาสู่คลองวนพร้อมกันที่ละ2ปั้มน้ำในคลองวนไหลแรงเนื่องสูบปั้มเดียวน้ำไม่เพียงพอต่อผู้ใช้นำ้ คำถามคือ จะต้องใข้สารส้มความเข้มข้นมากแค่ไหนถึงจะทำให้ตะกอนหนักตกลงที่ก้นถังตกตะกอน เพราะจตะกอนมักจะหล้นลงไปถึงถังกรอง โดย: อบต.หนองงูเหลือม [23 ก.พ. 2565 11:41] |