สนับสนุนโดย
สนับสนุนโดย
สนับสนุนโดย
หน้าแรก
ข้อมูลวิชาการ
GHS - SDS
UN Class - UN Number - UN Guide
การจัดเก็บสารเคมีและวัตถุอันตราย
ฐานข้อมูลโรคที่เกี่ยวข้องกับการทำงานและสารเคมี
ข้อมูลสถิติ
นานาสาระ
ศัพท์น่ารู้
ข้อมูลสารควบคุม
บัญชีวัตถุอันตราย
สารอันตราย (แรงงาน)
ขีดจำกัดความเข้มข้นของสาร
ยาเสพติด
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
ยุทธภัณฑ์
PICs (อนุสัญญารอตเตอร์ดัมฯ)
POPs (อนุสัญญาสตอกโฮล์มฯ)
Basel (อนุสัญญาบาเซล)
Montreal (พิธีสารมอนทรีออล)
EU REACH
บริการ
เอกสารเผยแพร่
จัดทำ SDS
In-House Training Courses
สิ่งพิมพ์ที่จัดจำหน่าย
เกี่ยวกับเรา
แนะนำหน่วยงาน
ติดต่อเรา
ถาม-ตอบ
ถาม-ตอบ
ก๊าซไอโดรเจน อีเลี่ยม AZERO ไนโตรเจน
อยากสอบถาม
1.อันตรายของก๊าซทั้ง 4 ชนิด
2.ปริมาณที่ได้รับเท่าไรจึงจะเป็บอันตรายแก่ตัวผู้ปฏิบัติงาน
3.ก๊าซทั้ง 4 ชนิดเมื่อรั่ว ก๊าซสามารถสะสมอยู่ในบรรยากาศนานแค่ไหนหรือจะระเหยไปเองโดยเร็ว
โดย:
วิชาญ เชียงทอง
[5 พ.ย. 2554 10:04]
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก
:
เมนูนานาสาระ
และหมวด
การจัดการความปลอดภัย
/
ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
/
สารเคมีในสถานประกอบการและความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ
ข้อคิดเห็นที่ 1:
Hydrogen Helium " Air Zero " Nitrogen
ไฮโดรเจน ( Hydrogen )
เป็น ก๊าซไวไฟ จะติดไฟ หรือ ระเบิดได้ ถ้ามีประกายไฟ หรือ เปลวไฟ
ถ้ามีปริมาณมาก ( แต่ยังไม่ระเบิด ) อาจทำให้ขาด อากาศ ( ออกซิเจน ) สำหรับหายใจ
ถ้ารั่วไหลในที่อากาศถ่ายเทได้ดี จะลอยขึ้นสู่ที่สูงหมด แต่ถ้าอยู่ในที่ซึ่งก๊าซไม่สามารถไหลหรือถ่ายเทได้ ก็จะสะสมอยู่อย่างนั้น ( จนกว่า จะมีปัจจัย ที่ทำให้ ไหลขึ้น / ไหลออก / ติดไฟ / ระเบิด ฯลฯ )
ฮีเลี่ยม ( Helium )
เป็น ก๊าซเฉื่อย ไม่ติดไฟ ไม่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีอื่น
ถ้ามีปริมาณมาก อาจทำให้ขาด อากาศ ( ออกซิเจน ) สำหรับหายใจ
ถ้ารั่วไหลในที่อากาศถ่ายเทได้ดี จะลอยขึ้นสู่ที่สูงหมด แต่ถ้าอยู่ในที่ซึ่งก๊าซไม่สามารถไหลหรือถ่ายเทได้ ก็จะสะสมอยู่อย่างนั้น ( จนกว่า จะมีปัจจัย ที่ทำให้ ไหลขึ้น / ไหลออก )
" Air Zero "
คือ อากาศ ที่มีแรงดันสูง ( และ สะอาด กว่า อากาศ ทั่วไป )
( คงไม่จำเป็นต้องตอบอะไรเพิ่มอีก )
( ชื่อ Nitrogen ในภาษาอื่น อาจมี ชื่อ ประเภท Azote ซึ่งต้องดูให้ดีว่า ไม่ใช่ Air Zero เพราะเวลาดูเผินๆ จะคล้ายกันมาก )
ไนโตรเจน ( Nitrogen )
เป็น ก๊าซ ไม่ติดไฟ ทำปฏิกิริยากับสารเคมีอื่นได้ยาก
ถ้ามีปริมาณมาก อาจทำให้ขาด อากาศ ( ออกซิเจน ) สำหรับหายใจ
ถ้ารั่วไหลในที่อากาศถ่ายเทได้ดี จะเจือจางไปกับอากาศ
แต่ถ้าอยู่ในที่ซึ่งก๊าซไม่สามารถไหลหรือถ่ายเทได้ ก็จะสะสมอยู่อย่างนั้น ( ทำให้ในอากาศ มี ไนโตรเจน มากขึ้น และ มี ออกซิเจน ลดลง )
โดย:
สมหวัง ที่ เมล์เย็น จุด คอม ( ไม่ใช่ชื่อจริง )
[12 พ.ย. 2554 10:19]
ข้อคิดเห็นที่ 2:
ขอบคุณมากครับ
โดย:
kluay
[23 พ.ค. 2560 10:49]
หากท่านต้องการถามคำถามที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำถามนี้
กรุณากดปุ่มนี้
หากท่านต้องการแสดงข้อคิดเห็นหรือแสดงความคิดเห็นที่อยู่ในประเด็นเดียวกับหัวข้อนี้ ให้กรอกข้อมูล แล้วกดปุ่มส่งข้อความด้านล่างนี้
จาก:
อีเมล:
ข้อคิดเห็น: