|
|
![]() |
|
อันตราย / อาการ | |
อันตราย | เป็นพิษเมื่อสูดดม, เมื่อถูกผิวหนัง และเมื่อกลืนกิน ทำให้เกิดแผลไหม้ อาจก่อให้เกิดผลเสียแก่ร่างกาย อาจก่อให้เกิดอาการแพ้เมื่อถูกผิวหนัง |
เมื่อสูดดม | การสูดดมอาจทำให้เกิดอาการบวมน้ำ (edema) ในทางเดินหายใจ |
เมื่อถูกผิวหนัง | ระคายเคืองอย่างรุนแรง ก่อให้เกิดอาการแพ้ ระวังอันตรายจากการซึมผ่านผิวหนัง |
เมื่อเข้าตา | ระคายเคืองอย่างรุนแรง ไอระเหยก่อให้เกิดการระคายเคืองจนน้ำตาไหล |
เมื่อกลืนกิน | ระคายเคืองต่อเยื่อบุในปาก หลอดลม หลอดอาหารและระบบลำไส้ มีฤทธิ์กัดกร่อน อาจทำให้หลอดอาหารและกระเพาะทะลุ |
ผลต่อระบบในร่างกาย | ง่วงซึม , ตาบอด |
อุปกรณ์ป้องกัน / ข้อควรปฏิบัติทั่วไป | |||||
|
เมื่อเข้าตา ล้างทันทีด้วยน้ำปริมาณมาก, พบแพทย์ สวมชุดป้องกัน, ถุงมือ และอุปกรณ์ป้องกันตาและหน้าที่เหมาะสม ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ หรือรู้สึกไม่สบาย ควรปรึกษาแพทย์ทันที พร้อมทั้งแสดงฉลากของสารเคมี ใช้แต่ในบริเวณที่อากาศระบายได้ดี |
ข้อปฏิบัติกรณีหกรั่วไหล หรือเกิดเพลิงไหม้ | |
ข้อควรระวังส่วนบุคคล | ห้ามสูดดมไอระเหย/ละอองลอย ไม่ควรสัมผัสกับสาร |
วิธีทำความสะอาด/ดูดซับ | ซับด้วยวัสดุดูดซับของเหลว เช่น เคมิซอบฎ ส่งไปกำจัด ทำความสะอาดบริเวณที่ปนเปื้อน |
มาตรการปกป้องสิ่งแวดล้อม | ป้องกันไม่ให้ไหลลงสู่ระบบสุขาภิบาล, ดิน หรือสิ่งแวดล้อม |
หมายเหตุเพิ่มเติม | การลดอันตราย: ทำปฏิกิริยาด้วยสารละลายโซเดียมไฮโดรเจนซัลไฟต์ที่มากเกินพอ |
สารดับไฟที่เหมาะสม | ผงเคมีดับเพลิง, โฟมดับเพลิง เครื่องดับเพลิง: ผงเคมีดับเพลิง , คาร์บอนไดออกไซด์ , น้ำ |
การปฐมพยาบาล | ||||||||||
|
|
Copyright 1998-1999 Merck Ltd., Thailand |