|
|
|
อันตราย / อาการ | |
อันตราย | ไวไฟ เป็นพิษเมื่อสูดดม |
เมื่อสูดดม | ระคายเคืองมากต่อเยื่อเมือก การสูดดมอาจทำให้เกิดอาการบวมน้ำ (edema) ในทางเดินหายใจ |
เมื่อถูกผิวหนัง | ระคายเคืองอย่างรุนแรง |
เมื่อเข้าตา | แสบร้อน อาจทำให้ตาบอด |
ข้อมูลเสริม | ข้อมูลเพิ่มเติม: มีการเตือนภัยล่วงหน้าที่ดีเนื่องจากระดับต่ำสุดของการได้กลิ่นมีค่ำต่ำ โดยทั่วไปจะเกิดความเสี่ยงหลังจากเกินขีดจำกัดของการทนได้เท่านั้น |
อุปกรณ์ป้องกัน / ข้อควรปฏิบัติทั่วไป | |||||
|
เก็บภาชนะปิดแน่น ไว้ในที่อากาศระบายได้ดี เก็บห่างจากแหล่งติดไฟ ห้ามสูบบุหรี่ ถ้าการระบายอากาศไม่เพียงพอ สวมอุปกรณ์ช่วยหายใจ ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ หรือรู้สึกไม่สบาย ควรปรึกษาแพทย์ทันที พร้อมทั้งแสดงฉลากของสารเคมี |
ข้อปฏิบัติกรณีหกรั่วไหล หรือเกิดเพลิงไหม้ | |
ข้อควรระวังส่วนบุคคล | ห้ามสูดดมไอระเหย/ละอองลอย ไม่ควรสัมผัสกับสาร การทำงานในห้องปิด ต้องแน่ใจว่ามีแหล่งอากาศบริสุทธิ์เพียงพอ |
วิธีทำความสะอาด/ดูดซับ | ปิดการรั่วไหลของแก๊ส เคลื่อนย้ายถังไปยังที่โล่ง ซึ่งต้องแน่ใจว่าไม่ก่อให้เกิดอันตรายในระหว่างการเคลื่อนย้าย ห้ามสูดดมไอระเหย |
สารดับไฟที่เหมาะสม | เลือกใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสมกับวัสดุที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง |
ข้อมูลเสริม | สารดับไฟที่ห้ามใช้:น้ำ |
การปฐมพยาบาล | ||||||||
|
|
Copyright 1998-1999 Merck Ltd., Thailand |