SIGMA-ALDRICH |
|
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย |
วันที่พิมพ์: 04/APR/2004 |
วันที่แก้ไขข้อมูลล่าสุด: 13/MAR/2004 |
รุ่น 1.3 |
มาจาก 91/155/EEC |
|
|
หมวดที่ 1 - ข้อมูลเกี่ยวกับสารเคมีและบริษัทผู้ผลิตและจัดจำหน่าย |
|
ชี่อผลิตภัณฑ์ |
LITHIUM NITRATE, 99.99% |
หมายเลขผลิตภัณฑ์ |
229741 |
บริษัท |
Sigma-Aldrich Sweden AB Solkraftsvagen 14C S-13570 Stockholm |
เบอร์โทรศัพท์ฝ่ายวิชาการ # |
46 8 742 42 00 |
โทรสาร: |
46 8 742 42 43 |
เบอร์โทรศัพท์ฉุกเฉิน |
Giftinformationscentralen 112 |
|
|
|
หมวดที่ 2 - องค์ประกอบ/ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนผสม |
|
ชี่อผลิตภัณฑ์ | CAS # | EC no | Annex I เลขดัชนี |
LITHIUM NITRATE | 7790-69-4 | 232-218-9 | None |
|
สูตร |
LiNO3 |
น้ำหนักโมเลกุล |
68.94 AMU |
|
|
|
หมวดที่ 3 - ข้อมูลเกี่ยวกับอันตราย |
|
ข้อชี้บ่งสำหรับอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม |
|
|
การสัมผัสกับสารซึ่งไหม้ไฟได้อาจทำให้เกิดไฟได้. |
|
|
|
|
หมวดที่ 4 - มาตรการปฐมพยาบาล |
|
|
|
ถ้าสูดดมเข้าไป, ให้ย้ายผู้ป่วยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์. ถ้าเริ่มหายใจลำบาก, ให้ตามแพทย์มา. |
|
|
|
|
ในกรณีที่ถูกผิวหนัง, ให้ล้างออกด้วยน้ำปริมาณมาก เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที. ถอดเสื้อและรองเท้าที่เปื้อนสาร. ไปพบแพทย์. |
|
|
|
|
ในกรณีที่เข้าตา, ให้ล้างด้วยน้ำปริมาณมาก เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที. ต้องแน่ใจว่าได้ล้างตาอย่างเพียงพอ โดยใช้นิ้วมือแยกเปลือกตาออกจากกันระหว่างล้าง. ไปพบแพทย์. |
|
|
|
|
เมื่อกลืนกิน, ให้ใช้น้ำบ้วนปากในกรณีที่ผู้ป่วยที่ยังมีสติอยู่. ไปพบแพทย์. |
|
|
|
|
หมวดที่ 5 - มาตรการการผจญเพลิง |
|
|
|
เหมาะสม: Carbon dioxide, ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม. |
|
|
|
อันตรายเฉพาะ: ปล่อยควันพิษออกมาภายใต้สภาวะที่เกิดไฟ. การสัมผัสกับสารอื่นๆอาจก่อให้เกิดไฟได้. อาจเร่งการเผาไหม้. |
|
อันตรายจากการระเบิด: ภาชนะอาจระเบิดเมื่อโดนไฟ. |
|
อุปกรณ์ป้องกันพิเศษสำหรับผู้ผจญเพลิง |
|
|
สวมเครื่องช่วยการหายใจแบบครบชุดและเสื้อผ้าที่ใช้ป้องกัน เพื่อป้องกันการสัมผัสกับผิวหนังและดวงตา. |
|
|
|
|
หมวดที่ 6 - มาตรการเมื่อมีอุบัติเหตุสารหกรั่วไหล |
|
ข้อควรปฏิบัติสำหรับบุคคลในกรณีที่หก หรือรั่วไหล |
|
|
|
|
|
สวมอุปกรณ์ช่วยหายใจแบบครบชุด, รองเท้าบูท และถุงมือยางแบบหนา. |
|
|
วิธีการทำความสะอาดหลังการปนเปื้อน หรือรั่วไหล |
|
|
ให้ดูดซึมบนทรายหรือเวอร์มิคูไลต์และบรรจุในภาชนะที่ปิดสนิทสำหรับนำไปกำจัด. ระบายอากาศในบริเวณนั้น และล้างตำแหน่งที่สารหกรั่วไหลหลังจากเก็บสารออกหมดแล้ว. |
|
|
|
|
หมวดที่ 7 - ข้อปฏบัติการใช้สารและการเก็บรักษา |
|
|
|
คำแนะนำสำหรับการปฏิบัติที่ปลอดภัย: อย่าหายใจเอาไอระเหยเข้าไป. ระวังอย่าให้เข้าตา, โดนผิวหนัง, หรือเสื้อผ้า. หลีกเลี่ยงการได้รับสารเป็นเวลานานหรือซ้ำหลายครั้ง. |
|
|
|
สภาวะสำหรับการเก็บ: ปิดให้สนิท. เก็บให้ห่างจากวัสดุซึ่งไหม้ไฟได้, รวมทั้ง ความร้อน, ประกายไฟและเปลวไฟ. |
|
|
|
|
หมวดที่ 8 - การควบคุมการสัมผัสสาร/ การป้องกันส่วนบุคคล |
|
|
|
ใช้ในตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น. ฝักบัวนิรภัยและอ่างล้างตา. |
|
|
|
|
ล้างให้สะอาดหลังการสัมผัส. ถอดและล้างเสื้อผ้าที่เปื้อนทันที. |
|
|
|
|
การป้องกันทางเดินหายใจ: เครื่องช่วยหายใจที่ผ่านการรับรองโดยรัฐ |
|
การป้องกันมือ: ถุงมือชนิดที่ทนสารเคมี. |
|
การป้องกันดวงตา: แว่นตาแบบก๊อกเกิลส์ที่ป้องกันสารเคมี. |
|
|
|
หมวดที่ 9 - สมบัติทางเคมีและกายภาพ |
|
|
|
สมบัติ | ค่า | ณ อุณหภูมิหรือความดัน |
พีเอช | N/A | |
จุดเดือด/ข่วงการเดือด | N/A | |
จุดหลอมเหลว/ช่วงการหลอมเหลว | 264 oC | |
จุดวาบไฟ | N/A | |
ความไวไฟ | N/A | |
อุณหภูมิลุกติดไฟด้วยตนเอง | N/A | |
สมบัติออกซิไดซ์ | N/A | |
สมบัติการระเบิด | N/A | |
ขีดจำกัดการระเบิด | N/A | |
ความดันไอ | N/A | |
ถพ./ความหนาแน่น | 2.38 g/cm3 | |
สัมประสิทธิ์การแบ่งส่วน | N/A | |
ความหนืด | N/A | |
ความหนาแน่นของไอ | N/A | |
ความเข้มข้นไอระเหยเมื่ออิ่มตัว | N/A | |
อัตราการระเหย | N/A | |
ความหนาแน่นในสภาพเป็นกลุ่มก้อน (bulk density) | N/A | |
อุณหภูมิสลายตัว | N/A | |
สัดส่วนของตัวทำละลาย | N/A | |
สัดส่วนของน้ำ | N/A | |
แรงตึงผิว | N/A | |
การนำไฟฟ้า | N/A | |
ข้อมูลเบ็ดเตล็ด | N/A | |
การละลาย | N/A | |
|
|
|
หมวดที่ 10 - ความเสถียรและความว่องไวต่อปฏิกิริยา |
|
|
|
เสถียร: เสถียร. |
|
สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง: ป้องกันจากความชื้น. |
|
สารที่ควรหลีกเลี่ยง: ตัวออกซิไดซ์แรง, กรดแก่, สารอินทรีย์, โลหะที่เป็นผงละเอียด. |
|
ผลิตภัณฑ์อันตรายที่เกิดจากการสลายตัว |
|
|
|
|
ผลิตภัณฑ์อันตรายที่เกิดจากการสลายตัว: ไนโตรเจนออกไซด์, ลิเธียมออกไซด์. |
|
โพลิเมอร์ไรเซชั่นที่เป็นอันตราย |
|
|
|
|
โพลิเมอร์ไรเซชั่นที่เป็นอันตราย: จะไม่เกิด |
|
|
|
หมวดที่ 11 - ข้อมูลทางพิษวิทยา |
|
ข้อชี้บ่งและอาการของการได้รับสาร |
|
|
อาการที่เกิดจากการได้รับสารนี้อาจได้แก่ รู้สึกแสบร้อน, ไอ, หายใจมีเสียง, หลอดลมตอนบนอักเสบ, หายใจถี่, ปวดหัว,คลื่นไส้, และอาเจียน. สารลิเธียมไอออนในปริมาณมาก จะก่อให้เกิดอาการเวียนศีรษะและภาวะสิ้นกำลัง, และสามารถทำลายตับได้ ถ้าร่างกายได้รับโซเดียมน้อย. ได้มีการรายงานถึงภาวะขาดน้ำ, สูญเสีย, ผลกระทบต่อผิวหนัง และการรบกวนของไทรอยด์. ระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่งรวมถึงพูดไม่ปะติดปะต่อเลอะเลือน, สายตาพร่ามัว, สูญเสียการรับความรู้สึก, ตากระตุก และอาจเกิดการชักได้. อาจเกิดอาการท้องร่วง, อาเจียน และผลต่อกล้ามเนื้อรวมประสาท เช่น อาการสั่น, อาการกระตุกสั่น และการตอบสนองที่ไวเกิน เป็นผลของการได้รับไอออนของลิเธียมอย่างซ้ำๆ. เคยพบอาการตัวเขียวและการกลับทิศของ T-wave ในทารกที่เลี้ยงด้วยนมมารดาซึ่งได้รับการรักษาด้วยลิเธียมคาร์บอเนต. เท่าที่ทราบ ยังไม่มีการตรวจสอบสมบัติทางเคมี, ทางร่างกาย, และทางพิษวิทยาอย่างละเอียดถี่ถ้วน. |
|
|
|
|
การสัมผัสทางผิวหนัง: อาจทำให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง. |
|
การดูดซึมทางผิวหนัง: อาจเป็นอันตรายหากถูกดูดซึมผ่านผิวหนัง. |
|
การสัมผัสทางตา: อาจทำให้เกิดการระคายเคืองดวงตา. |
|
การสูดดม: อาจเป็นอันตรายหากสูดดม. สารนี้อาจจะทำให้เกิดการระคายเคืองที่แผ่นเยื่อเมือก และบริเวณทางเดินหายใจส่วนบน. |
|
การกลืนกิน: อาจเป็นอันตรายหากกลืนกิน. |
|
|
|
ระบบประสาทส่วนกลาง. ไต. ระบบหัวใจร่วมหลอดเลือด. ต่อมไทรอยด์. |
|
|
การได้รับแบบเรื้อรัง - ก่อวิรูป |
|
|
ผล: ลิเทียมและสารประกอบของมันอาจทำให้ทารกมีอวัยวะผิดปกติโดยการเปรียบเทียบกันลิเทียมคาร์บอเนตซึ่งมีข้อมูลที่อย่างไม่แน่ชัดว่าอาจทำให้เกิดทารกมีอวัยวะผิดปกติทารกที่มีอวัยวะผิดปกติ และมีข้อมูลสนับสนุนว่าสารตัวนี้ทำให้เกิดภาวะตัวอ่อนพิการในสัตว์. |
|
|
การได้รับสารแบบเรื้อรัง - อันตรายต่อระบบสืบพันธุ์ |
|
|
ผล: อาจทำให้เกิดความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์. |
|
|
|
|
หมวดที่ 12 - ข้อมูลเชิงนิเวศน์ |
|
13 - Disposal Considerations |
|
|
|
|
|
|
|
|
ในการกำจัดสารติดต่อผู้ให้บริการกำจัดขยะซึ่งมีใบประกอบอาชีพ. ให้ตรวจสอบข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อมของรัฐบาลกลาง, รัฐ และท้องถิ่น. |
|
|
|
|
หมวดที่ 14 - ข้อมูลการขนส่ง |
|
|
|
UN#: 2722 |
|
ประเภท: 5.1 |
|
PG: III |
|
ชื่อที่ใช้ในการขนส่ง: ลิเทียมไนเตรต |
|
|
|
UN#: 2722 |
|
ประเภท: 5.1 |
|
PG: III |
|
ชื่อที่ใช้ในการขนส่ง: ลิเทียมไนเตรต |
|
มลภาวะต่อทะเล: ไม่ |
|
มลภาวะต่อทะเลขั้นรุนแรง: ไม่ |
|
|
|
UN#: 2722 |
|
ประเภท: 5.1 |
|
PG: III |
|
ชื่อที่ใช้ในการขนส่ง: ลิเทียมไนเตรต |
|
การบรรจุแบบป้องกันอันตรายจากการสูดดมกลุ่มที่ 1: ไม่ |
|
|
|
หมวดที่ 15 - ข้อมูลเกี่ยวกับข้อกำหนด |
|
การจำแนกประเภท และการติดฉลากตามคำสั่งของ EU |
|
|
|
|
สิ่งบ่งบอกความเป็นอันตราย: O การออกซิไดซ์. |
|
R: (วลีเกี่ยวกับความปลอดภัย) 8 การสัมผัสกับสารซึ่งไหม้ไฟได้อาจทำให้เกิดไฟได้. |
|
S: (วลีเกี่ยวกับความปลอดภัย) 22 24/25 อย่าหายใจเอาฝุ่นเข้าไป. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผิวหนังและดวงตา. |
|
|
|
ประเภทความเป็นพิษของสวิสเซอร์แลนด์: 3 |
|
|
|
หมวดที่ 16 - ข้อมูลอื่นๆ |
|
|
|
เป็นที่เชื่อว่าข้อความข้างต้นมีความถูกต้อง แต่ไม่ยืนยันว่าเป็นข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ และพึงใช้เพื่อเป็นแนวทางเท่านั้น. ข้อความในเอกสารนี้มาจากความรู้ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และใช้ได้กับผลิตภัณฑ์โดยประกอบกับการระมัดระวังความปลอดภัยที่เหมาะสม. ไม่ได้แทนการรับประกันคุณสมบัติใด ๆ ของผลิตภัณฑ์. บริษัท Sigma-Aldrich จะไม่รับชดใช้ค่าเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึ้นจากการใช้งานหรือการสัมผัสสารข้างต้น. ให้ดูหน้าหลังของใบส่งของหรือแผ่นการบรรจุสารสำหรับข้อความเพิ่มเติมและข้อกำหนดการขาย. สงวนลิขสิทธิ์ 2004 บริษัท Sigma-Aldrich. อนุญาตให้สำเนาไม่จำกัดสำหรับการใช้ภายในเท่านั้น. |
|
|
|
|
สำหรับการวิจัยและพัฒนาเท่านั้น. ไม่ให้ใช้เป็นยา ในบ้านเรือน หรือเพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ. |
|
|
|
|
โปรดใช้วิจารณญาณของท่านในการนำข้อมูลไปใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของตน
เพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งผู้แปลมิอาจรับผิดชอบได้
ลิขสิทธิ์คำแปลภาษาไทย ของจุฬาสงกรณ์มหาวิทยาลัย |