อันตราย (ตามระบบ UN) |
อุปกรณ์ป้องกัน/ข้อควรปฏิบัติทั่วไป |
ข้อมูลสำหรับสภาวะฉุกเฉิน เป็นอันตราย. เป็นอันตรายเมื่อสูดดม, สัมผัสผิวหนัง และเมื่อกลืนกิน. ระคายเคืองต่อตา, ระบบทางเดินหายใจและผิวหนัง. สารที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้. สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเป็นพิษ, ดูหัวข้อ 11. |
|
การควบคุมเชิงวิศวกรรม ฝักบัวนิรภัยและอ่างล้างตา. ใช้ในตู้ดูดควันสารเคมีเท่านั้น. สุขลักษณะทั่วไป ล้างให้สะอาดหลังการสัมผัส. ทำความสะอาดเสื้อผ้าที่เปื้อนก่อนนำมาใช้ใหม่. เครื่องป้องกันส่วนบุคคล ตา: แว่นตาแบบก๊อกเกิลส์ที่ป้องกันสารเคมี. อื่นๆ: ชุดกันเปื้อนที่ทำมาจากยาง. |
 |
ข้อปฏิบัติการใช้สาร ข้อปฏิบัติขณะใช้สาร: อย่าหายใจเอาไอระเหยเข้าไป. หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับดวงตา, ผิวหนัง และเสื้อผ้า. เปิดอย่างระมัดระวัง. การเก็บรักษา เหมาะสม: ปิดให้สนิท. สิ่งที่ต้องมีเป็นพิเศษ: อาจทำให้เกิดความดัน. เปิดอย่างระมัดระวัง. ไวต่อความชื้น. |
|
วิธีการทำความสะอาดหลังการปนเปื้อน หรือรั่วไหล กลบด้วยปูนขาวแห้งหรือโซดาแอช, เก็บกวาด, เก็บในภาชนะปิด และรอการกำจัด. ข้อปฏิบัติกรณีที่หก หรือรั่วไหล อพยพคนออกจากบริเวณ. |
 |
อุปกรณ์ผจญเพลิง เหมาะสม: Carbon dioxide, ผงเคมีแห้ง หรือโฟมที่เหมาะสม. จุดวาบไฟ 235 ?F 113 ?C วิธีการ: ถ้วยปิด อุณหภูมิที่ติดไฟได้เอง ไม่มีข้อมูล ความไวไฟ ไม่มีข้อมูล การผจญเพลิง อุปกรณ์ป้องกัน: สวมเครื่องช่วยการหายใจแบบครบชุดและเสื้อผ้าที่ใช้ป้องกัน เพื่อป้องกันการสัมผัสกับผิวหนังและดวงตา. อันตรายเฉพาะเรื่อง: ปล่อยควันพิษออกมาภายใต้สภาวะที่เกิดไฟ. อันตรายจากการได้รับสาร สาร: สารที่ทำให้ระคายเคือง. สารที่อาจกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้. |
|
กรณีที่ได้รับสารโดยทางสูดดม ถ้าสูดดมเข้าไป, ให้ย้ายผู้ป่วยไปที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์. ถ้าไม่หายใจ ให้การช่วยหายใจ. ถ้าหายใจลำบาก, ให้ออกซิเจน. กรณีที่ได้รับสารทางผิวหนัง ในกรณีที่สัมผัสกับสาร, ให้ล้างผิวหนังทันทีด้วยสบู่และน้ำปริมาณมาก. กรณีที่ได้รับสารทางตา ในกรณีที่สัมผัสกับสาร, ให้ล้างตาด้วยน้ำปริมาณมาก เป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที. |