สนับสนุนโดย    
สนับสนุนโดย    
   
สนับสนุนโดย    
ถาม-ตอบ

ตัวถูกละลาย ตัวทำละลาย

บอกความหมายตัวทำละลายและตัวถูกละลาย

โดย:  จี้   [2 ก.ค. 2552 20:18]
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก:  เมนูนานาสาระ และหมวด สารตัวทำละลาย
ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ
ข้อคิดเห็นที่ 1:2

ตัวทำละลาย คือ ตัวที่มีเปอร์เซนต์มาก
ตัวถูกละลาย คือ ตัวที่มีเปอร์เซนต์น้อยกว่า ตัวทำละลาย

โดย:  วนิดา  [26 ส.ค. 2552 21:21]
ข้อคิดเห็นที่ 2:4

ยกตัวอย่างตัวทำละลายและตวถูกละลายให้หน่อยได้ไม่ค่ะ

โดย:  มน  [27 ก.ย. 2552 15:47]
ข้อคิดเห็นที่ 3:5

ไม่ได้ไรเลย

โดย:  นิรนาม  [17 ก.ค. 2553 18:12]
ข้อคิดเห็นที่ 4:6

สาลละลาย และสารถูกละลายมีอะไรบ้างค่ะ
ช่วยหาหน่อยคะ

โดย:  kdd  [20 ส.ค. 2553 18:41]
ข้อคิดเห็นที่ 5:7

Solute คือสารที่ละลายอยู่ในตัวทำละลายเเล้วทำให้เกิดSoluton
(สารละลาย)

โดย:  Pammy  [4 พ.ย. 2553 20:26]
ข้อคิดเห็นที่ 6:8

ยกตัวอย่างนะคะ เช่น สารละลายด่างทับทิม
ตัวถูกละลายคือ ด่างทับทิม + ตัวละลายคือ น้ำ
เมื่อผสมกันจะได้เป็นของเหลวซึ่งเรียกเรียกว่า สารละลายด่างทับทิม หรือ น้ำทับทิม ค่ะ :)

โดย:  mamee  [14 พ.ย. 2553 17:14]
ข้อคิดเห็นที่ 7:9

จาก คำตอบที่ 7นะคับ
ขอแจม หน่อย
ก็คือ ตัวทำละลาย(น้ำ) จะมีส่วนผสมมากกว่า
ส่วนตัวถูกละลาย (ด่างทับทิม) มีน้อยกว่า

โดย:  rattap  [20 ธ.ค. 2553 13:52]
ข้อคิดเห็นที่ 8:11

สารถูกละลาย   หมายถึงอะไรคะ


โดย:  kate  [21 พ.ค. 2554 17:28]
ข้อคิดเห็นที่ 9:12

อ่านะ

โดย:  ojki  [5 มิ.ย. 2554 14:07]
ข้อคิดเห็นที่ 10:13

มะเห็นมีอะไรเลยไร้สาระ

โดย:  น่ารัก  [5 มิ.ย. 2554 14:09]
ข้อคิดเห็นที่ 11:14

มันมีอะไรมั้ยห้ะ?

โดย:  ปูเป้  [30 ส.ค. 2554 14:19]
ข้อคิดเห็นที่ 12:15

ครูปัทสั่งไห้ทามอ่ะ

โดย:  เบสด็อก  [6 ก.ย. 2554 21:12]
ข้อคิดเห็นที่ 13:16

It's wondrfeul to have you on our side, haha!

โดย:  Eyad  [25 ส.ค. 2555 07:13]
ข้อคิดเห็นที่ 14:20

Hihihihihi

โดย:  ผู้หวังดี  [31 ต.ค. 2555 21:48]
ข้อคิดเห็นที่ 15:21

สารละลายมีอ้ะไรบ้างค่ะ
ขอชื่อ ส่วนประกอบ บอกด้วยว่าตัวไหนเป้นตัวทำรึว่าตัวถูกละลาย
และก้สถาน้ะค่ะ ช่วยทีน่ะ

โดย:  คนขี้สงสัย  [8 ส.ค. 2556 19:14]
ข้อคิดเห็นที่ 16:22

ในทางเคมี สารละลาย (อังกฤษ: solution) คือสารผสมที่เป็นเนื้อเดียวกัน ซึ่งมีสสารหนึ่งชนิดหรือมากกว่าเป็นตัวทำละลาย ละลายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งเป็นตัวถูกละลาย ตัวอย่างเช่น ไม่เพียงแต่ของแข็งที่สามารถละลายในของเหลว เหมือนเกลือหรือน้ำตาลที่ละลายในน้ำ (หรือแม้แต่ทองคำที่ละลายในปรอทแล้วเกิดเป็นอะมัลกัม (amalgam)) แต่ก๊าซก็สามารถละลายในของเหลวได้ เช่น คาร์บอนไดออกไซด์หรือออกซิเจนสามารถละลายในน้ำ
สารละลายอุดมคติ (ideal solution) คือการที่ปฏิกิริยาระหว่าง โมเลกุล ของตัวทำละลายกระทำซึ่งกันและกันมีค่าเท่ากับปฏิกิริยาระหว่างตัวทำละลายกับตัวถูกละลาย แล้วคุณสมบัติของสารละลายในอุดมคติสามารถคำนวณได้โดยผลรวมเชิงเส้น (linear combination) ของคุณสมบัติของส่วนประกอบของมัน
ตัวทำละลาย (solvent) ตามความหมายแบบเดิมคือ สารในสารละลายที่มีปริมาณมากกว่าตัวถูกละลาย ถ้าทั้งตัวถูกละลายและตัวทำละลายมีปริมาณเท่ากัน (เช่น สารละลายมี เอทานอล 50% และ น้ำ 50%) คำจำกัดความเกี่ยวกับตัวทำละลายและตัวถูกละลายจะมีความสำคัญน้อยลง
แต่โดยทั่วไปสารที่มีปริมาณมากกว่าจะถูกกำหนดให้เป็นตัวทำละลาย

โดย:  คนน่ารัก  [11 มี.ค. 2557 19:20]
ข้อคิดเห็นที่ 17:24

ยกตัวอย่างสารตัวถูกทำลายไห้หน่อยค่ะ

โดย:  บิวตี้  [31 ส.ค. 2557 21:25]
ข้อคิดเห็นที่ 18:25

ตัวทำละลาย = ตัวทำลาย  ตัวถูกละลาย= ตัวที่โดน    กระทำ เช่น เยลลี่หลากสี  ตัวทำละลาย = น้ำ         ตัวถูกละลาย = ผงเยลลี่ ,สีผสมอาหาร  จบบบ @-@

โดย:  เด็กมัธยมปีที่ ๑/๓  [10 พ.ค. 2561 20:43]
ข้อคิดเห็นที่ 19:26

ช่วยคิดหน่อยค่ะ

โดย:  ราชินีผีตาโบ๋😊  [21 ส.ค. 2562 13:20]
ข้อคิดเห็นที่ 20:27

ต้่นไม้คืออะไร

โดย:  ทำไม  [8 ธ.ค. 2564 13:54]
ข้อคิดเห็นที่ 21:28

ต้นไม้คือ ชีวิตครับ

โดย:  นก  [18 ก.ค. 2565 18:59]
ข้อคิดเห็นที่ 22:29

สารละลาย

โดย:  รัตนาภรณ์  [10 ส.ค. 2565 14:46]
ข้อคิดเห็นที่ 23:30

สีผสมอาหาร ตัวละลายคืออะไร


โดย:  ไม่รู้  [29 พ.ย. 2565 20:04]
ข้อคิดเห็นที่ 24:31

ตัวทำละลายต้องมีมากกว่า
ตัวละลาย เป็นร้อยละ

โดย:  ก๊อนพั๊ต  [30 พ.ค. 2566 20:26]
หากท่านต้องการถามคำถามที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำถามนี้ กรุณากดปุ่มนี้

หากท่านต้องการแสดงข้อคิดเห็นหรือแสดงความคิดเห็นที่อยู่ในประเด็นเดียวกับหัวข้อนี้ ให้กรอกข้อมูล แล้วกดปุ่มส่งข้อความด้านล่างนี้