สนับสนุนโดย    
สนับสนุนโดย    
   
สนับสนุนโดย    
สาระเคมีภัณฑ์

การสื่อสารข้อมูลสารเคมี

ผู้เขียน: หน่วยข้อสนเทศวัตถุอันตรายและความปลอดภัย
วันที่: 27 เม.ย. 2555

รายการวิทยุจุฬา  “สำนึกของสังคม” ย้อนหลัง หัวข้อ "การสื่อสารข้อมูลสารเคมี"     

      ออกอากาศเมื่อวันพุธที่ 18 และ 25 เม.ย. 2555 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงความเป็นอันตรายและวิธีการจัดการให้เกิดความปลอดภัย เครื่องมือหลักๆ ที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลสารเคมี คือ รูปสัญลักษณ์ ฉลาก และ เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) ระบบการสื่อสารข้อมูลสารเคมีที่คนส่วนใหญ่คุ้นเคย คือ

     1.ระบบการสื่อสารสำหรับการขนส่งสารเคมีอันตราย (สินค้าอันตราย) (UN Recommendation on the Transport of Dangerous Goods, UNRTDG)

  • ที่มาและจุดประสงค์ของระบบ UNRTDG
  • ระบบ UNRTDG คืออะไร (มีองค์ประกอบอะไร)
  • เกี่ยวข้องกับใครบ้าง

      2.ระบบการจำแนกประเภทและการติดฉลากสารเคมีที่เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonised System for Classification and Labeling of Chemicals, GHS)

  • ที่มาของระบบ GHS (ทำไมต้องมี)
  • ระบบ GHS คืออะไร (มีองค์ประกอบอะไร)
  • เกี่ยวข้องกับใครบ้าง

      3.เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS) และ ฉลากสารเคมี

ฟังรายการวิทยุย้อนหลัง



 
  ข้อคิดเห็น
   

ขอเชิญร่วมแสดงข้อคิดเห็น