ชื่อสาร |
CAS-Number |
1. Xylene | |
unspecified isomer | 1330-20-7 |
m-Xylene | 108-38-3 |
o-Xylene | 95-47-6 |
p-Xylene | 106-42-3 |
2. Epinephrine | |
d-Epinephrine | 150-05-0 |
l-Epinephrine | 51-43-4 |
dl-Epinephrine | 329-65-7 |
l-Epinephrine hydrochloride | 55-31-2 |
l-Epinephrine bitartrate | 51-42-3 |
3. Ethylenediaminetetraacetic acid | 60-00-4 |
Monosodium salt | 17421-79-3 |
Disodium salt | 139-33-3 |
Trisodium salt | 150-38-9 |
Tetrasodium salt | 64-02-8 |
Sodium salt (unspecified ratio) | 7379-28-4 |
4. Ammonia | |
Anhydrous | 7664-41-7 |
Ammonia 15N-Anhydrous | 13767-16-3 |
5. Borax | |
Sodium tetraborate decahydrate |
1303-96-4 |
Borax pentahydrate |
11130-12-4 |
6. Asbestos | |
Crocidolite | 12001-28-4 |
Amosite | 12172-73-5 |
Chrysotile | 12001-29-5 |
All forms | 17068-78-9 |
ตอนที่ |
ประเภทสินค้า |
25 |
เกลือ กำมะถัน ดิน และหิน วัตถุจำพวกปลาสเตอร์ ปูนขาว และซีเมนต์ |
26 |
สินแร่ ตะกรัน และเถ้า |
27 |
เชื้อเพลิงที่ได้จากแร่ น้ำมันแร่ และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นสิ่งดังกล่าว สารบิทูมินัส ไขที่ได้จากแร่ |
28 |
เคมีภัณฑ์อนินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์หรือสารประกอบอนินทรีย์ของโลหะมีค่า ของโลหะจำพวกแรร์เอิร์ทของธาตุกัมมันตรังสี หรือของไอโซโทป |
29 |
เคมีภัณฑ์อินทรีย์ |
30 |
ผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม |
31 |
ปุ๋ย |
32 |
สิ่งสกัดที่ใช้ฟอกหนังหรือย้อมสี แทนนินและอนุพันธ์ของแทนนิน สีย้อม สารสี (พิกเมนต์) และวัตถุแต่งสีอื่นๆ สีทาและวาร์นิช พัตตี้และมาสติกอื่นๆ รวมทั้งหมึก |
33 |
เอสเซนเชียลออยล์และเรซินอยด์ เครื่องหอม เครื่องสำอาง หรือสิ่งปรุงแต่งสำหรับประทินร่างกายหรือประเทืองโฉม(ทอยเล็ตเพรพาเรชัน) |
34 |
สบู่ สารอินทรีย์ที่เป็นตัวลดแรงตึงผิว สิ่งปรุงแต่งที่ใช้ซักล้าง สิ่งปรุงแต่งที่ใช้หล่อลื่น ไขเทียม ไขปรุงแต่ง สิ่งปรุงแต่งที่ใช้ขัดเงาหรือขัดถู เทียนไขและของที่คล้ายกับ เพสต์สำหรับทำแบบ “ไขที่ใช้ทางทันตกรรม” สิ่งปรุงแต่งทางทันตกรรม ซึ่งมีปลาสเตอร์เป็นหลัก |
35 |
สารแอลบูมินอยด์ โมดิไฟด์สตาร์ช กาว เอนไซม์ |
36 |
วัตถุระเบิด ผลิตภัณฑ์จำพวกดอกไม้เพลิง ไม้ขีดไฟ แอลลอยที่ทำให้เกิดประกายไฟ สิ่งปรุงแต่งที่สันดาปได้บางชนิด |
37 |
ของที่ใช้ในการถ่ายรูปหรือถ่ายภาพยนตร์ |
38 |
เคมีภัณฑ์เบ็ดเตล็ด |
ตอนที่ |
ประเภท |
ประเภทย่อย |
รหัสสถิติ |
รายการ |
27 |
เชื้อเพลิงที่ได้จากแร่ น้ำมันแร่ และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่น สิ่งดังกล่าว สารบิทูมินัส ไขที่ได้จากแร่ | |||
27.09 |
น้ำมันปิโตรเลียมดิบและน้ำมันดิบที่ได้จากแร่บิทูมินัส | |||
2709.00.10 |
000 / LTR |
- น้ำมันปิโตรเลียมดิบ | ||
2709.00.20 |
000 / LTR |
- คอนเดนเสท | ||
2709.00.90 |
000 / LTR |
- อื่นๆ | ||
28 |
เคมีภัณฑ์อนินทรีย์ สารประกอบอินทรีย์หรือสารประกอบอนินทรีย์ของโลหะมีค่า ของโลหะจำพวกแรร์เอิร์ทของธาตุกัมมันตรังสีหรือของไอโซโทป |
|||
28.04 |
ไฮโดรเจน แรร์ก๊าซและอโลหะอื่นๆ | |||
2804.50.00 |
000/KGM |
- โบรอนและเทลลูเลียม | ||
2804.70.00 |
000/KGM |
- ฟอสฟอรัส | ||
2804.80.00 |
000/KGM |
- อาร์เซนิก | ||
2804.90.00 |
000/KGM |
- ซีลีเนียม | ||
29 |
เคมีภัณฑ์อินทรีย์ | |||
29.07 |
ฟีนอลและฟีนอลแอลกอฮอลล์ | |||
2907.10.00 |
101/KGM |
ฟีนอล (ไฮดรอกซิเบนซีน) | ||
201/KGM |
เกลือของฟีนอล | |||
2907.19.00 |
- - อื่นๆ |
คำย่อ |
ความหมาย (อังกฤษ) |
ความหมาย (ไทย) |
BEI | Biological Exposure Indices (ACGIH) | ดัชนีชี้วัดการสัมผัสสารทางชีวภาพ |
Thai BEIs | Thai Biological Exposure Indices | ดัชนีชี้วัดการได้รับ/สัมผัสทางชีวภาพสำหรับผู้ประกอบอาชีพที่สัมผัสสารเคมีสำหรับประเทศไทย เป็นค่าแนะนำทางวิชาการเพื่อใช้เป็นมาตรการความปลอดภัยสำหรับการเฝ้าระวังสุขภาพผู้ประกอบอาชีพที่สัมผัสสารเคมีในสถานประกอบกิจการที่มีสารเคมีในกระบวนการผลิต โดยครอบคลุมการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงการจัดทำแนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากสารเคมีและประยุกต์ใช้ในการวินิจฉัยโรคพิษสารเคมี ตามประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง ข้อแนะนำการเฝ้าระวังสุขภาพจากพิษสารเคมี กรณีดัชนีชี้วัดการได้รับ/สัมผัสทางชีวภาพสำหรับผู้ประกอบอาชีพที่สัมผัสสารเคมีสำหรับประเทศไทย (Thai Biological Exposure Indices: Thai BEIs) ฉบับที่ 1 |
bioaccumulation | Progressive increase of a poison in the body; occurs because the rate of intake exceeds the rate of elimination. "The process by which a material in an organism's environment progressively concentrates within the organism." [NTP] | การเพิ่มขึ้นของสารพิษในร่างกาย ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากอัตราการได้รับสารพิษมากกว่าอัตราการกำจัด "กระบวนการที่วัสดุในสิ่งแวดล้อมของจุลชีพเข้าไปอยู่ในจุลชีพอย่างต่อเนื่อง" |
Ceiling | "The concentration that should not be exceeded during any part of the working exposure." (ACGIH) See "threshold limit value." | ระดับความเข้มข้นที่ไม่ควรเกินไม่ว่าช่วงเวลาใดของการทำงาน |
IDLH | Immediately Dangerous to Life or Health. (NIOSH) | อันตรายทันทีทันใดต่อชีวิตหรือสุขภาพ (NIOSH) |
Lethal Concentration | LC50 is the lethal concentration in 50% of animals tested in an inhalation experiment for a given time (usually 1-4 hours). LCLO is the lowest lethal concentration tested in animal inhalation experiments. Most of the LC data in Haz-Map comes from ChemIDplus. | LC50 คือความเข้มข้นที่ทำให้สัตว์ทดลองจำนวนครึ่งหนึ่งของทั้งหมดตายในการทดลองแบบให้รับสารโดยการหายใจในระยะเวลาที่กำหนด (โดยทั่วไป 1 - 4 ชั่วโมง) LCLO คือความเข้มข้นต่ำที่สุดที่ทำให้สัตวืทดลองตายในการทดลองแบบให้รับสารโดยการหายใจ ค่าความเข้มข้นที่ทำให้ตายส่วนใหญ่ที่ใช้ในฐานนี้ได้มาจาก ChemIDplus. |
odor threshold | The lowest concentration at which a substance can be detected or recognized using the sense of smell. | ความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถได้กลิ่นหรือจดจำสารนั้น |
PEL | Permissible exposure limit. (OSHA) | ค่าจำกัดการสัมผัสที่ยอมรับได้ (OSHA) |
RD50 | Concentration producing a 50% decrease in respiratory rate in experimental animals following a 10-minute exposure. | ความเข้มข้นที่ทำให้อัตราการหายใจของสัตว์ทดลองลดลงร้อยละ 50 เมื่อได้รับสัมผัส 10 นาที |
skin designation | "Danger of cutaneous absorption." (ACGIH) | อันตรายจากการดูดซึมทางผิวหนัง (ACGIH) |
STEL | Short-term exposure limits. (ACGIH) | ค่าจำกัดการสัมผัสระยะสั้น (ACGIH) |
TIH | Toxic inhalation hazard. (ERG 2004) | อันตรายเมื่อหายใจเอาสารพิษเข้าไป (ERG 2004) |
TLV | Threshold limit value. (ACGIH) | ค่าจำกัดที่จะไม่ทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพคน หมายถึง ความเข้มข้นของสารเคมีในอากาศ ซึ่งเมื่อเน้นไปตามเงื่อนไขที่กำหนด เชื่อว่าคนงานเกือบทั้งหมดอาจสัมผัสสารเคมีดังกล่าวได้ซ้ำ ๆ วันแล้ววันเล่า โดยปราศจากผลกระทบทางลบต่อสุขภาพ แต่เนื่องจากแต่ละคนมีความไวต่อสารแตกต่างกัน จึงอาจมีคนงานบางคนได้รับผลกระทบจากการสัมผัสสารบางชนิดที่ความเข้มข้นต่ำกว่าหรือที่ระดับ TLV |
vapor pressure (VP) | A measure of a chemical's volatility at room temperature (20-25 degree C or 68-77 degree F). Multiply vapor pressure times 1300 to estimate in ppm the saturated concentration of the chemical after a spill in a confined space. [Sullivan, p. 1086-7] | การวัดการระเหยของสารเคมีที่อุณหภูมิห้อง (20 - 25 องศาเซลเซียส) ค่าความดันไอคูณด้วย 1300 จะได้ค่าความเข้มข้นอิ่มตัวเป็นพีพีเอ็มโดยประมาณของสารหลังจากมีการหกรั่วไหลในสถานที่จำกัด [Sullivan, p. 1086-7] |