สนับสนุนโดย    
สนับสนุนโดย    
   
สนับสนุนโดย    
ถาม-ตอบ

การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร  มีวิธีการอย่างไร

วิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร  ทำอย่างไร

โดย:  นวย  หัวฟู   [22 มิ.ย. 2551 15:51]
สามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก:  เมนูนานาสาระ และหมวด สารเคมีในอาหาร-สารเจือปน สารปรุงแต่ง สารตกค้าง
ข้อคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิจะแสดงในกรอบสีเขียว ส่วนข้อคิดเห็นหรือความเห็นจากผู้อื่นจะแสดงในกรอบปกติ
ข้อคิดเห็นที่ 1:1

( ไม่ใช่คำตอบ )        
เป็นคำถามที่ หาคำตอบที่ครบถ้วนถูกต้องตามหลักวิชาการ ยากมาก  และ หาคำตอบที่ปฏิบัติได้จริง ยากมาก

โดย:  นักเคมี  [22 มิ.ย. 2551 19:46]
ข้อคิดเห็นที่ 2:2

การตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหารมีหลายชนิด  เช่นการตรวจสอบหาบอแรกซ์ (ผงกรอบ)ในอาหาร    การตรวจหาฟอร์มาลีนในอาหาร   การตรวจสอบการปนเปื้อนของสารเคมีในผัก และผลไม้   ซึ่งทุกวิธีการตรวจสอบก็ต้องมีสารเคมีและวิธีการทดสอบดังนี้
1. การหาบอแรกในอาหาร
   1.1 สับตัวอย่างให้เป็นชิ้นเล็กๆ เท่าหัวไม้ขีดไฟ
   1.2ตักตัวอย่าง 1 ช้อนใส่ในถ้วยยา
   1.3เติมน้ำยาทดสอบบอแรกซ์จนแฉะ กวนให้เข้ากัน
  1.4จุ่มกระดาษขมิ้นให้เปียกครึ่งแผ่น
  1.5วางกระดาษขมิ้นบนจานกระเบื้องหรือแผ่นกระจก
แล้วนำไปวางไว้กลางแดดนาน 10 นาที
การอ่านผล  ถ้ากระดาษขมิ้นมี สีแดง แสดงว่าตัวอย่างอาหารมีสารบอแรกซ์ปนอยู่

โดย:  จีราภรณ์  [10 ก.ค. 2551 09:42]
ข้อคิดเห็นที่ 3:3

http://www.gccthai.com/thai/?name=foodtestkit        
( ชุดทดสอบ สำหรับอาหาร )

โดย:  นักเคมี  [10 ก.ค. 2551 23:14]
ข้อคิดเห็นที่ 4:4

ไม่ทราบ

โดย:  พงศธร  [31 ต.ค. 2551 19:05]
ข้อคิดเห็นที่ 5:5

มีวิธีอื่นอีกไหมคับ


โดย:  Play Boy  [21 พ.ย. 2551 19:09]
ข้อคิดเห็นที่ 6:6

มีอะไรอื่นอีกไหมค่ะ

โดย:  คนรักเด็กตรัง  [11 ม.ค. 2552 14:47]
ข้อคิดเห็นที่ 7:8

การหาสารปนเปื้อนในอาหารเป็นวิธีการที่.............???

โดย:  แก้วตา  [16 ม.ค. 2552 19:13]
ข้อคิดเห็นที่ 8:10

ช่วยคิดโครงงานวิทยให้หน่อย

โดย:  เด็กเก่ง  [11 ก.ค. 2552 14:15]
ข้อคิดเห็นที่ 9:12

น้ำยาตรวจสอบสารบอกแรกซ์คืออะไรอ่ะ

โดย:  ผู้ทำโครงงาน  [23 ส.ค. 2552 20:22]
ข้อคิดเห็นที่ 10:13

ชุดทดสอบบอแรกซ์ร้านขายามีขายไหมครับ


โดย:  คนอนาคตไกล  [21 ต.ค. 2552 16:05]
ข้อคิดเห็นที่ 11:15

มีวิธีทดสอบน้ำส้มสายชูคือหั่นพริกสดลงไปถ้าเหี่ยวแสดงว่าเป็นน้ำส้มสายชูปลอม น้ำส้มสายชูปลอมทำจากกรดซัลฟิวริก

โดย:  เรื่องแมวแมว  [13 ก.พ. 2553 17:20]
ข้อคิดเห็นที่ 12:70

อยากได้วิธีการตรวจสอบสารปนเปื้อน รวมถึงแบคทีเรียในน้ำจังค่ะ

โดย:  น้องปี 1  [19 ก.ค. 2553 20:06]
ข้อคิดเห็นที่ 13:71

หาจากที่ไหนได้ค่ะ

โดย:  เด็กเรียน  [21 ก.ค. 2553 19:15]
ข้อคิดเห็นที่ 14:72

อยากทราบว่าอาหารหรือขนมชนิดใดบ้างที่มีสารที่เป็นอันตรายปนเปื้อนอยู่ค่ะ

โดย:  ผู้ต้องการทราบ  [22 ก.ค. 2553 15:31]
ข้อคิดเห็นที่ 15:73

การตรวจหาสารฟอร์มาลีนปนเปื้อนในอาหาร
โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิธีการทดสอบสารฟอร์มาลีนในอาหารสดโดยใช้พืชในท้องถิ่น อุปกรณ์ที่ใช้ได้แก่ ขวดเก็บสารตัวอย่าง ผ้ากรอง เครื่องชั่งสาร เครื่องปั่น กระดาษกรอง ถุงมือยาง หลอดทดลอง และหน้ากากป้องกันสารพิษ สารเคมีที่ใช้ได้แก่ แอลกอฮอล์ น้ำกลั่น น้ำประปา น้ำทะเล และฟอร์มาลีน ที่มีความเข้มข้นต่างๆ พืชที่ใช้ในการทดลองนี้ใช้ 40 ชนิด เช่น ใบกระเพรา กระเทียม ใบตำลึง ใบมะยม ฯลฯ วิธีการทดลองโดยนำพืชทั้ง 40 ชนิด ทดสอบกับสารละลายฟอร์มาลีนเพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลง ต่อมาทดสอบว่าส่วนใดของพืชและการสกัดสารจากพืชโดยวิธีใดจะให้ปฏิกิริยากับสารละลายฟอร์มาลีนได้รวดเร็วและชัดเจนที่สุด สุดท้ายหาสัดส่วนที่เหมาะสมต่อการนำสารไปใช้เพื่อทำการทดสอบกับอาหารที่มีในตลาดทั่วไปและการเก็บรักษา จากการทดลองพบว่า สารสกัดจากใบมะยมเป็นสารสกัดเพียงชนิดเดียวที่สามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายฟอร์มาลีนได้รวดเร็วและดีที่สุด โดยปฏิกิริยาระหว่างสารสกัดจากใบมะยมกับสารละลายฟอร์มาลีนคือจะทำให้เกิดตะกอน โดยส่วนที่เหมาะสมต่อการสกัดสารเพื่อนำมาทดสอบกับสารละลายฟอร์มาลีนคือ ใบแก่ และพบว่าการสกัดสารจากใบมะยมแก่ โดยไม่ผ่านความร้อนจะทำให้เกิดตะกอนอย่างชัดเจนและรวดเร็วภายใน 2 นาที ในขณะที่เมื่อทำการสกัดสารโดยวิธีผ่านความร้อนหรือการต้มจะเกิดตะกอนหลังจากเวลาผ่านไป 5 นาทีและสารสกัดจากใบมะยมจะสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายฟอร์มาลีนที่ความเข้มข้นตั้งแต่ 1 % ขึ้นไป ส่วนการนำไปใช้ทำได้โดยใช้ปริมาณใบมะยม 15 ส่วน ต่อน้ำ 10 ส่วนก็เพียงพอในการใช้ตรวจสอบสารละลายฟอร์มาลีนได้


โดย:  บ้าบอ  [7 ก.ย. 2553 20:01]
ข้อคิดเห็นที่ 16:74

ขอบคุณมากฮ้ะ : )

โดย:  ฟาง อรพรรณ อัมพิลาศรัย  [17 ม.ค. 2554 22:14]
ข้อคิดเห็นที่ 17:75

ขอบคุณค้ะ ^^

โดย:  มิ้น อัยรินทร์ วุฒิสาธิยานนท์  [17 ม.ค. 2554 22:16]
ข้อคิดเห็นที่ 18:76

หาจากพี่กู(เกิล) ก้มีให้แล้วค่ะ !!

โดย:  ฟ้า'ฟาโอรี่  [11 พ.ค. 2554 16:11]
ข้อคิดเห็นที่ 19:77

ช่วยอธิบายหั้ยละเอียดกว่านี้หน่อยได้ไหมค่ะ

โดย:  ขี้สงสัย  [29 ก.ค. 2554 18:53]
ข้อคิดเห็นที่ 20:78

เ้เีีีีีีีล้วก็หาเอาเองสิครับ

โดย:  คนชอบกวนตีน  [12 พ.ย. 2554 16:51]
ข้อคิดเห็นที่ 21:79

อยากรู้ว่าอาหารอะไรบ้างที่มีสารปนเปื้อนบ้าง

โดย:  น้องใหม่  [11 มิ.ย. 2555 23:56]
ข้อคิดเห็นที่ 22:80

เด็กเก่งจริงเขาไม่ขอให้คนอื่นช่วยหาโครงงานให้ร็อกกกกกกกกกกกก

โดย:  -.-  [10 มิ.ย. 2556 17:42]
ข้อคิดเห็นที่ 23:81

มีวิธีตรวจหาสารกันเสียแบบง่ายๆไหมคะ  พอดีจะทำโครงงานเกี่ยวกับการทำเส้นสมุนไพรธรรมชาติเลยอยากหาผลต่างน่ะค่ะมาทำตารางเปรียบเทียบ  ไม่เจอวิธีทดสอบเลย  เจอแต่ทดสอบสารบอแรกซ์   อยากได้มากๆ  ถ้ามีช่วยส่งให้ทางอีเมล์หน่อยนะคะ    ขอบคุณ

โดย:  หนูส้ม  [15 ม.ค. 2557 17:04]
ข้อคิดเห็นที่ 24:82

ขอวิธีตรวจสารปนเปื้อนโดยวิธีธรรมชาติหน่อยครับ

โดย:  ปู  [5 ส.ค. 2559 19:25]
ข้อคิดเห็นที่ 25:83

ขอวิธีดารตรวจสอบสารพิษหรือสารปนปื้นโดยวิธีการทดสอบจากธรรมชาติหน่อยค้ะ

โดย:  มิ้ม  [6 ส.ค. 2559 21:26]
ข้อคิดเห็นที่ 26:84

คำว่า should be spiked to
the matrix ในประโหยกข้างล่างนี้แปลว่าอะไรครฟบผม: For qualitative multi residue methods targeting very large numbers of analytes, it may not be practicable to include all analytes from the scope in each batch of analyses. To verify overall method performance for each batch, at least 10 representative (indicator) analytes(from the validated scope) that cover all critical points of the method should be spiked tothe matrix. In a rolling programme, the performance for all analytes from the validated scope
should be verified as indicated in Table 3.

โดย:  Phouvong  [9 ม.ค. 2563 10:50]
หากท่านต้องการถามคำถามที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อคำถามนี้ กรุณากดปุ่มนี้

หากท่านต้องการแสดงข้อคิดเห็นหรือแสดงความคิดเห็นที่อยู่ในประเด็นเดียวกับหัวข้อนี้ ให้กรอกข้อมูล แล้วกดปุ่มส่งข้อความด้านล่างนี้